ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

วรรณไวทยากร วรวรรณ

บทบาท-ผลงาน
29
กันยายน
2566
ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 หนึ่งปีได้เกิดการรัฐประหารครั้งแรกเป็นเหตุให้นายปรีดี พนมยงค์ต้องลี้ภัยทางการเมืองเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2476 โดยในปีเดียวกันนั้นวันที่ 29 กันยายน 2476 นายปรีดี พนมยงค์ก็ได้เดินทางหวนกลับสู่บ้านเกิดอีกครั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
15
กันยายน
2566
คำว่า “ประชาธิปไตย” มีความหมายที่ไม่หยุดนิ่งตลอดมา แม้จะปรากฏคำนี้ขึ้นในสังคมไทยมายาวนาน แต่ความเข้าใจถึงความหมายทั้งในทางทฤษฎีและทางปฏิบัตินั้นก็ยังไม่อาจหาคำจำกัดความได้อย่างลงตัวนัก
บทบาท-ผลงาน
4
สิงหาคม
2566
การปกครองส่วนท้องถิ่นหรือการปกครองแบบมัธยวิภาค (Decentralisation) ให้อำนาจการออกแบบและดูแลเป็นของท้องถิ่นนั้นๆ ในระบบเทศบาล โดยมีระบบสภาเทศบาลและคณะมนตรีดูแลกิจการต่าง ๆ เหมือนรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2566
89 ปี สถาปนามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ย้อนอ่านประวัติศาสตร์ผ่านรายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎรกว่าจะมาเป็นสถานศึกษาเพื่อราษฎรแห่งแรกของไทย
แนวคิด-ปรัชญา
24
มิถุนายน
2566
อ่านที่มาของการตั้งชื่อของ “คณะราษฎร” ผ่านคำบอกเล่าของนายปรีดี พนมยงค์ เหตุการณ์อภิวัฒน์สยาม เมื่อ 24 มิถุนายน 2475 ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตยอันมีกษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
แนวคิด-ปรัชญา
23
มิถุนายน
2566
นายปรีดี พนมยงค์ กล่าวอารัมภบทถึงการอภิวัฒน์ 2475 ว่า “สังคมมนุษย์รวมทั้งสังคมไทยด้วยนั้น จะคงอยู่ได้ก็ต้องอาศัยสัจจะ” ดังนั้น เราควรศึกษาประวัติศาสตร์จากเอกสารแท้จริง (Authentic Document) ไม่ใช่จากนิยายอิงประวัติศาสตร์ พร้อมยกตัวอย่างเอกสารบิดเบือนต่างๆ
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
มิถุนายน
2566
ระบอบประชาธิปไตยต้องชะงักงันจนเกิดสุญญากาศทางการเมือง 'พระยาพหลพลพยุหเสนา' ร่วมกับคณะราษฎรจำนวนหนึ่ง จึงคิดหาทางแก้ไขสถานการณ์เพื่อนำระบอบประชาธิปไตยกลับเข้าสู่หลักการตามรัฐธรรมนูญดังเดิม ในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 พร้อมเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรในวันถัดมา
แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2566
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง เขียนถึงศัพท์เกิดใหม่อย่าง "กรุงเทพอภิวัฒน์" โดยวิเคราะห์ผ่านความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างภาษาและการเมือง พร้อมทั้งบอกเล่าความเป็นมาของคำว่า "อภิวัฒน์" ซึ่งถูกนิยามและเชื่อมร้อยเข้ากับบริบททางการเมืองไทยเมื่อราวต้นทศวรรษ 2500 โดย นายปรีดี พนมยงค์ หนึ่งในสมาชิกคนสำคัญของคณะราษฎร
บทบาท-ผลงาน
15
ตุลาคม
2565
15 ตุลาคม พ.ศ. 2479 เป็นวันที่ทางราชการในสมัยรัฐบาลของพระยาพหลพลพยุหเสนา ได้สร้างอนุสาวรีย์ 17 ทหาร-ตำรวจขึ้น ณ ตำบลหลักสี่ อำเภอบางเขน จังหวัดพระนคร เพื่ออุทิศแด่ผู้ที่เสียชีวิตจากการเข้าร่วมปราบปรามกบฏบวรเดช ระหว่างวันที่ 11-24 ตุลาคม พ.ศ. 2476
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
มีนาคม
2565
'สุภา ศิริมานนท์' เล่าถึง เหตุปัจจัยที่ทำให้เกิดความเลื่อมใส 'กุหลาบ สายประดิษฐ์' ตั้งแต่ที่ตนเองอายุเพิ่งจะ 10 กว่าขวบ จนเมื่อผ่านกาลเวลาและได้มีโอกาสก้าวเข้ามาสู่วงการนักหนังสือพิมพ์ สุภาในฐานะของลูกศิษย์ ยกย่องกุหลาบด้วยความเคารพและเชิดชู ในฐานะของ "ครู" ผู้สอนสั่งความเป็นนักหนังสือพิมพ์
Subscribe to วรรณไวทยากร วรวรรณ