ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

วิจิตร ลุลิตานนท์

บทบาท-ผลงาน
5
สิงหาคม
2565
ภายหลังที่ชาติไทยถูกรุกล้ำอธิปไตยโดยจักรวรรดิญี่ปุ่น หนึ่งในข้อตกลงที่เกิดขึ้นระหว่างชาติผู้รุกรานและรัฐบาลในขณะนั้น คือการใช้พื้นที่ของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองให้เป็นพื้นที่สำหรับกักกันพลเมืองจากประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
สิงหาคม
2565
บรรยากาศ ท่าทีและความรู้สึกของผู้คนในสังคมท่ามกลางบรรยากาศโดยรอบในวันที่สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มาเยือนสยามประเทศเป็นที่เรียบร้อย เริ่มจากการรุกล้ำอธิปไตยของชาติไทยโดยญี่ปุ่น เหตุการณ์ดังกล่าวนำไปสู่การก่อตั้ง "องค์การต่อต้านญี่ปุ่น" หรือ "ขบวนการเสรีไทย" ภายใต้การนำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' พร้อมด้วยภารกิจสำคัญ 2 ประการ เพื่อปลดปล่อยชาติไทยคืนสู่ความเป็นเอกราชอีกครั้ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กุมภาพันธ์
2565
สงครามโลกครั้งที่ ๒ เริ่มเกิดขึ้นในทวีปยุโรปเมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๔๘๒ โดยกองทัพเยอรมันได้บุกเข้าโจมตีโปแลนด์ และได้รับชัยชนะในประเทศภาคพื้นยุโรปอย่างรวดเร็ว จากนั้นได้โจมตีประเทศอังกฤษทางอากาศ เมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๔๘๓ และบุกเข้าสหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๔๘๔ ขณะนั้นสหรัฐอเมริกายังเป็นกลางอยู่
บทสัมภาษณ์
27
สิงหาคม
2564
ปฏิบัติการลับรับใช้ชาติที่รู้จักในนาม "ขบวนการเสรีไทย" มีผู้ร่วมสมัครเข้าเป็นสมาชิกจำนวนมากทั่วประเทศ โดยที่ผู้คนเหล่านั้นมาจากอาชีพครูบ้าง บ้างเป็นชาวไร่ ชาวนา ชาวสวน บ้างเป็นเพียงแค่นักศึกษา
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
สิงหาคม
2564
อดีตสมาชิกเสรีไทย เจ้าของนามนามปากกา 'เสนีย์ เสาวพงศ์' เล่าเรื่องราวเมื่อครั้งที่นายทหารอังกฤษจากหน่วย Force 136 เข้ามาใช้พื้นที่พำนักในมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองกับปฏิบัติการลับ "ขบวนการเสรีไทย"
บทบาท-ผลงาน
14
สิงหาคม
2564
วิญญูชนรุ่นปัจจุบันที่ตั้งอยู่ในอุเบกขาแสวงหาสัจจะ โดยปราศจากอคติสี่ประการคือ ฉันทา, โทสา, ภยา, โมหา ก็ย่อมเข้าใจได้จากรูปธรรมที่ประจักษ์ถึงท่าทีของฝ่ายสัมพันธมิตร
บทบาท-ผลงาน
9
สิงหาคม
2564
ระหว่างเดินทางจากตึกคณะรัฐมนตรีกลับบ้านเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ข้าพเจ้ามีความรู้สึกเช่นเดียวกับนายทวี บุณยเกตุและรัฐมนตรีที่ไม่เข้าข้างฝ่ายญี่ปุ่นว่า “กลับบ้านด้วยความรันทดใจเป็นอย่างยิ่ง ชนิดที่เกิดมาในชีวิตไม่เคยมีความรู้สึกเช่นนี้มาก่อนเลย”
บทสัมภาษณ์
3
พฤษภาคม
2564
ครั้งแรกกับท่านปรีดี และ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ที่ปารีสประเทศฝรั่งเศส พ.ศ. 2513 (1970) กับ ครั้งสุดท้ายในบางกอก สยามประเทศ (ไทย) พ.ศ. 2544 (2001)
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
มีนาคม
2564
นายทวี ตะเวทีกุล เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทยภายในประเทศชั้นผู้ใหญ่ผู้หนึ่งซึ่งได้รับความไว้วางใจและมีความใกล้ชิดกับนายปรีดี พนมยงค์หัวหน้าขบวนการนับตั้งแต่แรกเริ่ม
บทบาท-ผลงาน
29
ธันวาคม
2563
ในบรรดาผู้คนรอบตัวของนายปรีดีที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ คุณวิจิตรเป็นคนหนึ่งที่มีประวัติน่าสนใจและมีผลงานเป็นคุณแก่ประเทศนี้อยู่มาก น่าเสียดายที่ผลงานและเรื่องราวเกี่ยวกับคุณวิจิตรได้รับการบันทึกไว้ไม่มากนัก
Subscribe to วิจิตร ลุลิตานนท์