ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

วุฒิสภา

แนวคิด-ปรัชญา
11
มกราคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เสนอแนะให้รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ควรคำนึงถึงการที่วุฒิสภาคัดค้านพระราชบัญญัติงบประมาณเพิ่มเติม พ.ศ. 2492 ที่เกิดจากความไม่น่าเชื่อถือในการบริหารจัดการงบประมาณแผ่นดินของรัฐบาล
แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤษภาคม
2567
ช่วงท้ายงานเสวนาทางวิชาการ PRIDI Talks #25 เก่าไปใหม่มา : สว. ชุดใหม่ อนาคตประชาธิปไตย อนาคตประเทศไทย เปิดให้ผู้เข้าร่วมรับชมงานเสวนาถามคำถามและวิทยากรภายในงานตอบคำถาม ข้อสงสัยประเด็นต่างๆ
แนวคิด-ปรัชญา
23
พฤษภาคม
2567
ผู้ร่วมเสวนาในเวที PRIDI Talks #25 กล่าวถึงความคาดหวังให้สมาชิกวุฒิสภาชุดใหม่มีความเชื่อมโยงกับประชาชนมากขึ้น ใช้อำนาจอย่างรับผิดชอบ และผลักดันการปฏิรูปการเมืองอย่างจริงจัง โดยเฉพาะการจัดตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญเพื่อยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
แนวคิด-ปรัชญา
21
พฤษภาคม
2567
พริษฐ์ วัชรสินธุ วิพากษ์วิจารณ์บทบาทวุฒิสภาชุดเก่าในการแทรกแซงการเมือง ขัดขวางการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เรียกร้องให้ส.ว.ชุดใหม่ไม่ผูกมัดอนาคตประเทศ ส่งเสริมประชาธิปไตยและการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
แนวคิด-ปรัชญา
20
พฤษภาคม
2567
วุฒิสภาในรัฐธรรมนูญปัจจุบันถูกออกแบบมาให้มีอำนาจเหนือสภาผู้แทนราษฎร และไม่มีความเชื่อมโยงกับประชาชน หากต้องการให้วุฒิสภาชุดใหม่มีความชอบธรรมมากขึ้น ควรเปิดโอกาสให้ประชาชนรับรู้ข้อมูลและมีส่วนร่วมในกระบวนการสรรหามากขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
18
พฤษภาคม
2567
อาจารย์สิริพรรณ นกสวน สวัสดี วิพากษ์วุฒิสภาชุดเก่าขาดประสิทธิภาพ กังวลความชอบธรรมและความไม่ยึดโยงประชาชนของวุฒิสภาใหม่ เสนอแนวทางปฏิรูปให้ได้วุฒิสมาชิกที่แท้จริงจากกระบวนการเป็นประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
15
พฤษภาคม
2567
'รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ' กล่าวเปิดเสวนาด้วยการวิพากษ์วิจารณ์ที่มาและอำนาจวุฒิสมาชิกในรัฐธรรมนูญ 2560 ว่ามีเจตนาสืบทอดอำนาจแนวอภิชนาธิปไตย ระบบซับซ้อนผิดกฎหมาย วุฒิสภามีอำนาจเกินไป เสนอให้ใช้ระบบสภาเดียวจากเลือกตั้ง และผลักดันรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
14
พฤษภาคม
2567
‘สถาบันปรีดี พนมยงค์’ ได้ร่วมกับ ‘มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์’ จัดงานเสวนาทางวิชาการ PRIDI Talks #25 เก่าไปใหม่มา : สว. ชุดใหม่ อนาคตประชาธิปไตย อนาคตประเทศไทย ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ วันเสาร์ที่ 11 พฤษภาคม 2567
แนวคิด-ปรัชญา
30
เมษายน
2567
ปรีดี พนมยงค์ วิพากษ์วิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญ 2517 ว่ายังไม่สอดคล้องกับหลักประชาธิปไตย เสนอให้ประชาชนเลือกวุฒิสภา รัฐสภาควบคุมการส่งกำลังทหารเข้า-ออกประเทศ พร้อมเสนอแนวคิดให้พระมหากษัตริย์อยู่เหนือการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
1
กุมภาพันธ์
2567
พรรคการเมืองฝ่ายค้าน เป็นสิ่งที่มีประโยชน์อย่างมาก และขาดไม่ได้ เพราะการเมืองของบ้านเราในยุคนี้เต็มไปด้วยความเลอะเทอะ ความไม่สงบของบ้านเมือง ซึ่งจะทำให้การปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยนั้นเป็นไปด้วยความไม่ราบรื่น
Subscribe to วุฒิสภา