ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ศรัญญู เทพสงเคราะห์

เกร็ดประวัติศาสตร์
31
ตุลาคม
2567
วาระครบรอบ 91 ปี กบฏบวรเดช ภายหลังเหตุการณ์การหายไปของอนุสาวรีย์ปราบกบฏและการหวนกลับของกบฏบวรเดช สะท้อนให้เห็นถึงพื้นที่อนุสาวรีย์ที่ยังเป็นพื้นที่ความทรงจำตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
ตุลาคม
2567
การก่อตั้งและพัฒนาการของอนุสาวรีย์ปราบกบฏ โดยได้รวบรวมหลักฐานใหม่ ๆ เพื่อสร้างคำอธิบายประวัติ ความหมาย ความสำคัญ และพลังทางการเมืองของอนุสาวรีย์แห่งนี้ที่ตั้งแต่ พ.ศ. 2476 หลังจากเหตุการณ์กบฏบวรเดชยุติลงและเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างอนุสาวรีย์ พ.ศ. 2479 จนมาถึง พ.ศ. 2561
บทบาท-ผลงาน
13
ตุลาคม
2567
ประวัติศาสตร์ทัณฑนิคมสมัยใหม่ในประเทศไทยตั้งแต่ปลายทศวรรษ 2470 ถึง 2500 โดยกล่าวถึงแนวคิดการจัดตั้งและพัฒนาการของงานทัณฑนิคมหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ตุลาคม
2567
บันทึกความทรงจำเรื่อง “ตำรวจเชลย” ที่มีบทบาทในการปราบกบฏบวรเดช โดยผ่านหลักฐานความทรงจำและหลักฐานชั้นต้น
15
สิงหาคม
2567
มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ และสถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมเป็นเจ้าภาพงานสวดพระอภิธรรมคุณสัมผัส พึ่งประดิษฐ์ เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2567
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
มิถุนายน
2567
ความเปลี่ยนแปลงเชิงวัฒนธรรมกับการทำสัญญะของระบอบการปกครองใหม่ เสนอมิติทางวัฒนธรรมหลังการอภิวัฒน์สยามผ่านงานวันชาติและรัฐพิธีฉลองรัฐธรรมนูญ และสัญญะของระบอบการปกครองใหม่ผ่านศิลปะ-สถาปัตยกรรม และการสร้างความหมายของราษฎร
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
พฤษภาคม
2567
ภายหลังการอภิวัฒน์สยามในช่วงปี พ.ศ. 2475 ได้มีการพัฒนาเส้นทางการคมนาคมทั่วประเทศให้เชื่อมโยงถึงกัน เพื่อความเจริญในด้านต่างๆ โดยมีการตั้งชื่อจากเชื้อพระวงศ์และบุคคลสำคัญ เพื่อรำลึกถึงคุณงามความดี
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
เมษายน
2567
"หมุดคณะราษฎร" เป็นสัญลักษณ์การอภิวัฒน์ 2475 ที่รัฐพยายามควบคุม แต่กลับทำให้เกิดกระแสรื้อฟื้นความทรงจำนี้ในสังคม สะท้อนการต่อสู้ระหว่างรัฐและประชาชนในการกำหนดประวัติศาสตร์
บทบาท-ผลงาน
24
มกราคม
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เข้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในรัฐบาลหลวงพิบูลสงครามนับตั้งแต่ปลายเดือนธันวาคม 2481 ถือเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของอุตสาหกรรมแอลกอฮอล์ในสยาม โดยตั้งโรงงานกลั่นแอลกอฮอล์แบบทันสมัยแห่งแรกที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อส่งเสริมความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจของชาติ
บทสัมภาษณ์
15
ตุลาคม
2566
การหายไปของอนุสาวรีย์ปราบกบฏและมรดกคณะราษฎรชิ้นอื่นๆ นั้น สะท้อนถึงนัยทางการเมืองของการรื้อถอนอดีต ความทรงจำชุดหนึ่งไม่เป็นที่ต้องการของภาครัฐหรือไม่ก็ไม่เป็นที่ต้องการของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
Subscribe to ศรัญญู เทพสงเคราะห์