ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ศาลรัฐธรรมนูญ

แนวคิด-ปรัชญา
23
กันยายน
2565
ชวนสำรวจตำแหน่งแห่งที่ของประชาธิปไตยไทย ภายใต้บริบทการเมืองโลกที่มีการขับเคี่ยวทางอุดมการณ์ตลอดเวลา ผ่านการประเมินตัวแปรชี้วัดที่หลากหลายซึ่งฉายภาพความเป็นประชาธิปไตยของรัฐไทย รวมถึงจุดยืนที่สะท้อนผ่านการแบ่งชนิดของรัฐในสถานการณ์ที่ประชาธิปไตยไทยถดถอย
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
กันยายน
2565
ในบทความนี้ ผู้เขียนเล่าถึงเหตุแห่งการยกฟ้องอาชญากรสงคราม อันเป็นผลจากการตีความตัวบทกฎหมายและการบังคับใช้ ส่งผลให้คำพิพากษาคดีอาชญากรสงครามในครั้งนั้น ศาลฎีกายกฟ้องจำเลยทั้งหมด 13 คน ข้อสรุปของคำพิพากษานำไปสู่การวิพากษ์วิจารณ์โต้แย้งในเชิงกฎหมายและการตีความในเชิงหลักการของศาลฎีกา
แนวคิด-ปรัชญา
30
สิงหาคม
2565
วันที่ 30-31 สิงหาคมของทุกปี เป็นวันที่ทั่วโลกถือเป็น วันแห่งการรำลึกถึงเหยื่อของการบังคับสูญหายสากล (International Day of Enforced or Involuntary Disappearances)
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2565
'กล้า สมุทวณิช' ชวนผู้อ่านพิจารณาถึงจุดกำเนิดในการก่อร่างขององค์กรสำคัญในระบบกฎหมายไทย คือ "ศาลรัฐธรรมนูญ" ด้วยการไต่สวนและดำเนินคดีต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมดที่ทำให้สยามประเทศต้องตกอยู่ในภาวะยากลำบากในสงครามโลกครั้งที่ 2 ผ่านคดี “โมฆ (อาชญากร) สงคราม” โดยมีจำเลยคนสำคัญคือ 'จอมพล ป. พิบูลสงคราม' นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
กุมภาพันธ์
2564
ศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ ซึ่งเพิ่งจากโลกนี้ไปเมื่อวันที่ 16 มกราคม ที่ผ่านมานั้น นอกจากเป็นหลานลุงของนายปรีดี พนมยงค์ และเป็นอดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญแล้ว ยังเป็นนักกฎหมายมหาชนคนสำคัญอีกคนหนึ่งของประเทศไทย
Subscribe to ศาลรัฐธรรมนูญ