ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ศาสนาพุทธ

บทสัมภาษณ์
27
พฤษภาคม
2566
117 ปี ชาตกาล พุทธทาสภิกขุ (27 พ.ค. 2449 - 2566) ชวนอ่านชีวประวัติย่อเบื้องต้นพร้อมวัตรปฏิบัติภายใต้ร่มเงาพุทธศาสนาของ 'พุทธทาสภิกขุ' ผ่านวิธีคิดทั้งทางทฤษฎีและการปฏิบัติซึ่งสะท้อนแนวทางที่มีลักษณะอิงอยู่กับธรรมชาติของมนุษย์สามัญ อันเป็นการเติบโตผ่านวันเวลาและการเรียนรู้พุทธศาสนาด้วยปัญญา
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
กุมภาพันธ์
2565
นโม พุทฺธาย  ดูกรท่านสาธุชนทั้งหลาย  วันนี้วันที่ 25 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2479 เป็นศุภดิถีมงคลสมัย วันมาฆบูชาจาตุรงคสันนิบาต สมาชิกพุทธธรรมสมาคมได้มาชุมนุมพร้อมกันเพื่อบำเพ็ญกุศลตามคตินิยม
แนวคิด-ปรัชญา
26
พฤศจิกายน
2564
ภายใต้ความขัดแย้งที่ลึกลงไปจนถึงความคิดความเชื่อ ระดับอุดมการณ์ของการปกครอง ดังที่ปรากฏอยู่ในสังคมไทยในเวลานี้ ผมไม่คิดว่าจะมีคนกลางเหลืออยู่
แนวคิด-ปรัชญา
21
กันยายน
2563
ข้อคิดเกี่ยวกับสันติภาพ และความสำคัญของเรื่องวันสันติภาพไทย จากสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)
แนวคิด-ปรัชญา
11
กันยายน
2563
ในบทความนี้ สุโข สุวรรณศิริ นำเสนอวิสัยทัศน์ 6 ด้านของนายปรีดี พนมยงค์ คือ ในการสร้างประชาธิปไตย ในทางเศรษฐกิจ ในด้านการศึกษา ในด้านธรรมะ ในเรื่องการคุ้มครองสิทธิของพลเมืองพลเมือง และในด้านการต่างประเทศและสันติภาพ
แนวคิด-ปรัชญา
6
สิงหาคม
2563
เมื่อกรกฎาคม 2480 กระทรวงการต่างประเทศไทยได้พิมพ์เอกสารเล่มเล็ก ๆ เล่มหนึ่งเป็นภาษาฝรั่งเศสชื่อ ประเทศสยามผู้รักความสงบ และนโยบายการต่างประเทศของรัฐบาลสยาม (Le Siam Pacifiste et la Politique Etrangere du Gouvernement Siamois) เอกสารนี้มีคําอธิบายบนหน้าปกใน ลักษณะเป็นชื่อหลั่นรองว่า “ข้อความจากสุนทรพจน์และคําแถลงต่อหนังสือพิมพ์ของ ฯพณฯ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งสยาม” รายการสุนทรพจน์และคําแถลงที่เสนอในเอกสาร มีดังนี้
บทสัมภาษณ์
16
กรกฎาคม
2563
ที่ผ่านมา อจ.ปรีดีท่านได้พยายามทำเพื่อชาติบ้านเมืองตลอดเวลา แต่ก็ยังถูกกลั่นแกล้งใส่ร้าย ไม่ทราบว่าพี่เคยเห็น อจ.ท้อใจหรือเคยบ่นให้ลูก ๆ ฟังบ้างหรือไม่ อันนี้รู้สึกจะเป็นคุณธรรมข้อหนึ่งที่ท่านมีอยู่ คือท่านไม่เคยแสดงความท้อใจและไม่เคยบ่นเลย จนกระทั่งหลายต่อหลายคนเคยพูดเหมือนกันว่า ถ้าเขาโดนสภาพเช่นเดียวกับท่านอาจารย์ก็คงไม่สามารถมีชีวิตอยู่ต่อไปได้ แต่คณพ่อพี่ถึงแม้จะถูกกลั่นแกล้งใส่ร้ายยังไง ท่านก็ยังมีเจตนาบริสุทธิ์ที่จะทำอะไรเพื่อความเจริญของบ้านเมือง จนกระทั่งไปอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศสแล้ว ท่านก็ยังพยายามเขียนข้อเสนอความคิดเห็นต่าง ๆ ในบั้นปลายชีวิต แม้เรื่องกรณีสวรรคตก็ไม่เคยบ่น
บทสัมภาษณ์
15
กรกฎาคม
2563
อ่านทัศนะของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ) หรือที่รู้จักกันในสมณศักดิ์ที่ พระพิมลธรรม เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
กรกฎาคม
2563
ตามที่ปุถุชนทั้งหลาย มีลูกหลานเป็นต้นหรือลูกหลานมิตรสหายมาปรารภวันเกิดของตนก็ตาม หรือของท่านที่เคารพนับถือของตนก็ตาม ก็เสมือนหนึ่งเป็นการให้ได้มีโอกาสสอบสวนชีวิตของคนแต่ละท่านว่าที่ล่วงลับล่วงเลยไปแล้วนั้น เราได้ดําเนินชีวิตไปเหมาะสมแค่ไหน เพียงใด  ทั้งนี้ก็เพื่อว่า เมื่อว่าชีวิตของเราดําเนินมาในทางที่ไม่ดี เราจะได้แก้ไขปรับปรุงให้มันดีขึ้น หรือเมื่อเห็นว่าชีวิตของเราดําเนินดีถูกต้องอยู่แล้ว ก็อย่าได้ดีใจแต่ให้เพียรทําความดีสืบต่อไป นี่ก็เป็นจุดมุ่งหมายที่คาดคะเนว่าคงจะปรารถนาเช่นนี้จึงได้มีการบําเพ็ญกุศลเนื่องในวันสําคัญของตน 
บทสัมภาษณ์
7
กรกฎาคม
2563
"ควรปรับปรุง (การเผยแพร่พุทธศาสนา) ให้ทันสมัย เช่นว่า ควรจะมีเพลงทางศาสนาของพุทธศาสนาบ้าง ผมบอกว่าผมไม่มีหัวทางนี้" พระมหาเงื่อม อินทฺปญฺโญ ย้อนรำลึกถึงเรื่องที่เคยสนทนากับนายปรีดี พนมยงค์ ที่ทำเนียบท่าช้าง ใน พ.ศ. 2485 ผ่านบทสัมภาษณ์ของพระดุษฎี เมธงฺกุโร เมื่อปี 2531
Subscribe to ศาสนาพุทธ