ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

แนวคิด-ปรัชญา
29
สิงหาคม
2567
หากในครานั้นนายปรีดี พนมยงค์ไม่ได้เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจอันเป็นรากฐานของรัฐสวัสดิการขึ้น ปัจจุบันนี้สถานการณ์ทางการเมืองจะเป็นไปในทิศทางใด อย่างไรก็ตามแม้ว่าจะไม่มีข้อเสนอดังกล่าว พลวัตทางการเมืองอาจก่อให้เกิดแนวทางนี้ขึ้นในสักวัน
แนวคิด-ปรัชญา
1
พฤษภาคม
2567
โครงสร้างแรงงานไทยเปลี่ยนจากเกษตรกรรมสู่อุตสาหกรรมและบริการ ส่งผลให้จิตสำนึกร่วมของแรงงานเสื่อมถอย แต่มีสหภาพแรงงานรุ่นใหม่เกิดขึ้น สร้างโอกาสเปลี่ยนแปลงเพื่อประโยชน์แรงงานในอนาคต
บทบาท-ผลงาน
17
เมษายน
2567
ข้อเสนอด้านเศรษฐกิจและสวัสดิการของปรีดี พนมยงค์ ยังมีความทันสมัย แม้บางประเด็น เช่น การผูกขาดทางเศรษฐกิจ การแยกส่วนนโยบาย และระบบภาษี ยังไม่ได้รับการแก้ไข จึงจำเป็นต้องผลักดันต่อไป
แนวคิด-ปรัชญา
19
มีนาคม
2567
การสร้างรัฐสวัสดิการ เป็นการสร้างจุดมุ่งหมายให้ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง กลุ่มด้อยโอกาส กลุ่มผู้ยากไร้ ให้ดีขึ้น และสามารถเข้าถึงได้อย่างดี
บทสัมภาษณ์
20
ธันวาคม
2566
PRIDI Interview : เลือกตั้งกรรมการประกันสังคม อนาคตรัฐสวัสดิการไทย รองศาสตราจารย์ ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี ตัวแทนจากทีมประกันสังคมก้าวหน้าถึงความสำคัญของการเลือกตั้งกรรมการประกันสังคมและกองทุนประกันสังคมมูลค่ากว่า 2.3 ล้านล้านบาท
แนวคิด-ปรัชญา
28
ตุลาคม
2566
ความจำเป็นของการปฏิรูปประกันสังคมและกองทุนประกันสังคม ในฐานะกองทุนขนาดใหญ่ที่ถือครองเม็ดเงินจำนวนมหาศาลในขณะเดียวกันก็ดูแลคนจำนวนกว่า 24 ล้านคนทั่วประเทศที่ปัจจุบันยังคงปรากฏข้อบกพร่องในหลากหลายด้าน
แนวคิด-ปรัชญา
10
ตุลาคม
2566
โลกในอุดมคติของอนุรักษนิยม สิ่งหนึ่งที่ฝั่งอนุรักษนิยมพยายามรักษาไว้คือ การรักษาสภาพสังคมที่สามารถควบคุม กำกับ และสอดส่อง ไม่ให้ผู้คนในสังคมเหล่านั้นเกิดคำถามที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงในที่สุด
แนวคิด-ปรัชญา
23
กันยายน
2566
บทความนี้ อาจารย์ษัษฐรัมย์ นำเสนอถึงเหตุผลสำคัญเบื้องต้นว่าทำไมบรรดาชนชั้นนำในสังคมจึงปฏิเสธสวัสดิการ “บำนาญถ้วนหน้า” อันเกี่ยวโยงกับเหตุผลเรื่องความกังวลในค่าใช้จ่าย ผลทางเศรษฐกิจระยะสั้น ความมั่นคงทางสังคม หรืออื่นๆ
แนวคิด-ปรัชญา
12
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้นำเสนอถึงปัจจัยที่ส่งผลให้คนจนก่ออาชญากรรมและถูกพบเห็นมากกว่าคนรวย ในขณะเดียวกันคนรวยทำอย่างไรจึงก่ออาชญากรรมได้โดยไม่ถูกนับเป็นอาชญากรรม
แนวคิด-ปรัชญา
26
กรกฎาคม
2566
หนึ่งในปัจจัยสำคัญและแสนยากเข็ญต่อการเปลี่ยนแปลงสังคมการเมืองคือ การเปลี่ยนทัศนคติและมุมมองทางการเมือง ซึ่งไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับบุคคลที่จะเปลี่ยนความเชื่อหรือฟากฝั่งที่ตนยึดถือมาตลอด โดยเฉพาะกับบุคคลที่มีผลประโยชน์ผูกพันกับความเชื่อดังกล่าว โดยเฉพาะชนชั้นนำอนุรักษนิยม
Subscribe to ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี