ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สงครามเย็น

แนวคิด-ปรัชญา
16
ตุลาคม
2566
งานวิจัยดุษฎีนิพนธ์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ เรื่อง “เสรีนิยมธรรมราชา: พลวัตแห่งอำนาจระหว่างสถาบันกษัตริย์กับสถาบันแนวประชาธิปไตยในโครงการจำกัดเสียงข้างมาก (พ.ศ. 2540-2560)” โดย อ.ปฤณ เทพนรินทร์ กล่าวถึงลักษณะสำคัญใหม่ของฟากฝั่งอนุรักษนิยมไทยที่ปรับเปลี่ยนตนเองอย่างมีพลวัต
แนวคิด-ปรัชญา
19
กันยายน
2565
ความสำเร็จของการรัฐประหารกันยายน 2549 เป็นตัวอย่าง อันดีที่พิสูจน์ให้เห็นถึงความเปราะบางของระบอบการเมืองไทย
แนวคิด-ปรัชญา
22
สิงหาคม
2565
'รัศม์ ชาลีจันทร์' กล่าวถึงการวางรากฐานแนวคิดสันติภาพของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านนโยบายการต่างประเทศ ซึ่งถือเป็นคุณูปการที่สืบเนื่องนับตั้งแต่การอภิวัฒน์สยาม 2475
ศิลปะ-วัฒนธรรม
29
กรกฎาคม
2565
"สายธารแห่งวรรณกรรมศรีบูรพา" ผ่านบทบาทของ 'วัฒน์ วรรลยางกูร' หนึ่งในผู้รอดชีวิตจากการสังหารหมู่เมื่อ 6 ตุลาคม 2519 ผู้ซึ่งยังคงถ่ายทอดอุดมการณ์ผ่านงานเขียนจนวาระสุดท้ายของชีวิต โดยวิเคราะห์ภายใต้บริบทของเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ คือ เหตุการณ์ ‘เมษา-พฤษภา 53’
ชีวิต-ครอบครัว
11
พฤษภาคม
2565
'ดร.วรวิทย์ กนิษฐะเสน' ผู้ที่มี "คุณปู่ปรีดี" เป็นแบบอย่างในชีวิต ได้ย้อนวันวานบอกเล่าเรื่องราวในความทรงจำ เมื่อครั้งที่ใช้ชีวิตอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศส ใกล้ชิดกับคุณปู่ปรีดีและคุณย่าพูนศุข ณ บ้านเดี่ยวหลังอบอุ่น บ้านอองโตนี อีกทั้งความประทับใจที่ได้ใช้สถานที่แห่งนี้จัดงานแต่งงาน โดยเจ้าภาพในงานครั้งนั้น ก็คือ นายปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
บทบาท-ผลงาน
18
สิงหาคม
2564
นโยบายที่สำคัญที่ท่านปรีดี พนมยงค์ได้วางไว้ ก็คือเรื่องของนโยบายต่างประเทศที่จะต้องอยู่บนหลักของเอกราชและอธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
10
สิงหาคม
2564
เฉพาะประเทศที่มีเอกราชอันแท้จริง และนโยบายต่างประเทศเป็นอิสระเท่านั้นจึงจะสามารถดำเนินนโยบายให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ของชาติและประชาชนได้
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ตุลาคม
2563
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนกรัตน์ เลิศชูสกุล อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อภิปรายในหัวข้อ "สงครามเย็นกับโบว์ขาว: เราจะอยู่ร่วมกันอย่างไร?" ในงาน PRIDI talks ครั้งที่ 6
Subscribe to สงครามเย็น