สงครามโลก ครั้งที่ 2
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
6
พฤศจิกายน
2567
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมของ จ. ลำปาง ในสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2 ที่สะท้อนให้เห็นชีวิตของผู้คนธรรมดา และปฎิบัติการเสรีไทยใน จ. ลำปาง ที่ใช้สถานที่ของโรงงานน้ำตาลเป็นฐานที่มั่น
บทความ • วันนี้ในอดีต
3
พฤศจิกายน
2567
เนตร เขมะโยธิน เขียนถึงปฏิบัติการเสรีไทยในจีนของถวิล อุดล ผู้ที่ปรีดี พนมยงค์ มอบหมายภาระกิจส่งสารไปยังจีนในสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2
บทความ • วันนี้ในอดีต
30
ตุลาคม
2567
110 ปี ชาตกาลของจำกัด พลางกูร เป็นปากคำประวัติศาสตร์ของฉลบชลัยย์ พลางกูร ภรรยาของจำกัด ที่บอกเล่าเรื่องราวชีวิต และการทำงานเสรีไทยของจำกัดอย่างละเอียด
บทความ • บทบาท-ผลงาน
21
กันยายน
2567
กำเนิดหลักการ นโยบาย และปฏิบัติการเพื่อสันติภาพของนายปรีดี พนมยงค์ ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเสนอหลักการ และแนวทางสันติภาพเชิงนโยบายผ่านเอกสารทางการ ข้อเขียน และประกาศสันติภาพ ขณะที่ปฏิบัติการสันติภาพผ่านขบวนการเสรีไทย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กันยายน
2567
การข่าวและการต่างประเทศไทยก่อนเกิดสงครามโลก ครั้งที่ 2 วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2482 จากหลักฐานชั้นต้นสำคัญคือ รายงานการประชุมคณะรัฐมนตรี (พิเศษ) วันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2482 เรื่อง สงคราม และบันทึกการประชุมกรรมการพิจารณาประมวลข่าวในยามฉุกเฉิน วันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2482
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
สิงหาคม
2567
บันทึกเหตุการณ์ภายหลังรัฐบาลไทยส่งทหารเข้าครอบครองดินแดน 4 รัฐมาลายา เชียงตุง และเมืองพาน ภายใต้การสนับสนุนของประเทศญี่ปุ่น
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
26
สิงหาคม
2567
จดหมายของคอร์เดลล์ ฮัลล์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ สหรัฐอเมริกาถึงรองผู้อำนวยการสำนักงานยุทธศาสตร์ (กูดเฟลโลว์) แสดงให้เห็นถึงบทบาทของนายปรีดี พนมยงค์ และปฏิบัติการของขบวนการเสรีไทยในประเทศ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
25
สิงหาคม
2567
รายละเอียดเหตุการณ์ภายหลังการเข้ามาของประเทศญี่ปุ่น รัฐบาลไทยประกาศสงครามกับบริเตนใหญ่และสหรัฐอเมริกา
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
25
สิงหาคม
2567
สันติสุข โสภณสิริ กล่าวในหัวข้อ สงครามและสันติภาพ จากยุคเสรีไทยถึงสมัยปัจจุบันเล่าถึงตั้งแต่การประกาศสงครามกับบริเตนใหญ่ฯ จนถึงการประกาศสันติภาพและโมฆสงครามโดยเน้นที่แนวคิดของนายปรีดี พนมยงค์ เป็นหลัก
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to สงครามโลก ครั้งที่ 2
21
สิงหาคม
2567
ญี่ปุ่นละเมิดข้อตกลง ข้อ 2. ที่ว่า “ญี่ปุ่นขอเพียงส่งกองทัพผ่านประเทศไทยเท่านั้น โดยจะพักอยู่ที่กรุงเทพฯ” คือ ฝ่ายกองทัพญี่ปุ่นได้พักอยู่ในกรุงเทพฯ และควบคุมจุดยุทธศาสตร์ไว้หลายแห่ง และนายปรีดี พนมยงค์ได้ถูกผลักให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์