ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สงวน ตุลารักษ์

เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มิถุนายน
2566
เรื่องราวของ นายสงวน ตุลารักษ์ ในช่วงหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 ในฐานะสมาชิกคณะราษฎรปีกซ้ายซึ่งมีแนวคิดสังคมนิยม ทว่ากลับต้องเผชิญกับวิบากกรรมทางการเมืองด้วยข้อกล่าวหากระทำการอันเป็นคอมมิวนิสต์ เนื่องด้วยการเผยแพร่แนวคิดแบบสังคมนิยม
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2566
อ่านบันทึกประวัติศาสตร์ของขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ ผ่านผ่านบันทึกความทรงจำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ซึ่งแสดงให้เห็นลำดับเหตุการณ์ก่อน-หลัง เหตุแห่งการเกิด และหลักฐานเชิงประจักษ์ อันนำไปสู่การตอบโต้รัฐประหาร 2490 และทวงคืนระบอบประชาธิปไตยสมบูรณ์ให้แก่สังคมไทย
4
กุมภาพันธ์
2566
ค่ำวานนี้ (3 กุมภาพันธ์ 2566) มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมเป็นเจ้าภาพในงานสวดพระอภิธรรม คุณไกรศรี ตุลารักษ์ ณ ศาลา 9 (วรรณ-สุพิน) วัดธาตุทอง
บทบาท-ผลงาน
27
ธันวาคม
2565
27 ธันวาคม 2554 - 2565 11 ปี แห่งอนิจกรรมของ "ศาสตราจารย์ กนต์ธีร์ ศุภมงคล" อดีตเอกอัครราชทูตประจำกรุงลอนดอน และวีรชนเสรีไทย ซึ่งบอกเล่าการดำเนินงานกิจการเสรีไทยในฐานะนักการทูตใต้ดิน เมื่อคราวสงครามโลกครั้งที่ 2
แนวคิด-ปรัชญา
15
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงความสำคัญของการปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ อันมีหัวใจสำคัญคือการยึดโยงต่อประชาชน เพื่อการสถาปนารัฐและระบอบการเมืองที่มั่นคง พร้อมกันนี้ยังได้นำเสนอทางออกของวิกฤติที่ไทยกำลังเผชิญหน้ารวมทั้งสิ้น 6 ประการ เพื่อยุติความขัดแย้งและหาจุดร่วมให้แก่ความคิดเห็นที่แตกต่างกันของคนในสังคม
บทสัมภาษณ์
8
ธันวาคม
2565
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ชวนคุยกับ 'คุณไกรศรี ตุลารักษ์' วีรชนแห่งขบวนการเสรีไทย อีกทั้งยังเป็นทายาทของ 'คุณสงวน ตุลารักษ์' หนึ่งในผู้ร่วมก่อการอภิวัฒน์สยาม 2475 และบุคคลใกล้ชิดของ 'นายปรีดี พนมยงค์' รวมไปถึงคราวเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งได้เป็นผู้ร่วมชะตาเดียวกันกับขบวนการเสรีไทย
ชีวิต-ครอบครัว
11
พฤศจิกายน
2565
ดร.ปรีดี พนมยงค์ ได้พำนักอยู่ในกรุงปักกิ่งประเทศจีนในฐานะเป็น “แขกของรัฐบาล” โดยรัฐบาลจีนออกค่าใช้จ่ายในการดำรงชีวิตให้ทุกประการ บ้านที่พักเป็นบ้านเลขที่ 25 ตรอกเสี่ยวหยางเหมา คนไทยร่วมอาศัยอยู่ด้วยหลายคน คือ ร.อ.วัชรชัย ชัยสิทธิเวช, นายสงวน ตุลารักษ์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปักกิ่ง, ร.ต.ต.สมจิตร สุวรรณวัฒนา, นางนงเยาว์ ประภาสถิตย์, ร.ต.อ.สมศักดิ์ พัวเวช, ส.ต.ต.ชม แสงเงิน และ ร.ต.อ.เฉียบ ชัยสงค์ (อัมพุนันท์) และนับเป็นการลี้ภัยการเมืองครั้งที่ 3 ของท่าน คงจำได้ว่า การลี้ภัยครั้งแรก คือ เมื่อพระยามโนปกรณ์นิติธาดาปิดสภา ครั้งที่สอง เมื่
บทบาท-ผลงาน
15
ตุลาคม
2565
15 ตุลาคม พ.ศ. 2479 เป็นวันที่ทางราชการในสมัยรัฐบาลของพระยาพหลพลพยุหเสนา ได้สร้างอนุสาวรีย์ 17 ทหาร-ตำรวจขึ้น ณ ตำบลหลักสี่ อำเภอบางเขน จังหวัดพระนคร เพื่ออุทิศแด่ผู้ที่เสียชีวิตจากการเข้าร่วมปราบปรามกบฏบวรเดช ระหว่างวันที่ 11-24 ตุลาคม พ.ศ. 2476
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
ตุลาคม
2565
'จำกัด พลางกูร' คือ ฟันเฟืองสำคัญของ "ขบวนการเสรีไทย" ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 แม้จะอยู่ในวัยหนุ่มและการสร้างครอบครัวอย่างใหม่หมาด แต่ได้อุทิศแรงกายและแรงใจบุกบั่นเพื่อหน้าที่จนลมหายใจสุดท้าย
บทบาท-ผลงาน
25
กันยายน
2565
ภารกิจแรกของปรีดี หัวหน้าเสรีไทยในประเทศ และ ม.ร.ว.เสนีย์ หัวหน้าเสรีไทยสายอเมริกาภายใต้รัฐบาลใหม่ คือ การสวนสนามของพลพรรคเสรีไทยราว 8,000 คน บนถนนราชดำเนินกลาง ในวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2488
Subscribe to สงวน ตุลารักษ์