ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี

บทบาท-ผลงาน
2
กันยายน
2567
ในปี 2567 เป็นวาระครบรอบ 50 ปี ความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทยกับสาธารณรัฐเช็กทั้งสองประเทศได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกันอย่างเป็นทางการเมื่อปี 2517 และแบบไม่เป็นทางการตั้งแต่รัฐกาลที่ 7 และช่วงที่นายปรีดี พนมยงค์ ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มีนาคม
2567
ความสัมพันธ์พระยาพหลฯกับพระปกเกล้าฯ เริ่มด้วยความร่วมมือแต่กลายเป็นขัดแย้ง เนื่องจากพระองค์ทรงมีความกังวลต่อระบอบประชาธิปไตย มีข้อสงสัยบ่งชี้ว่าทรงรู้เห็นกบฏบวรเดช ก่อนเสด็จออกประเทศและสละราชสมบัติ สะท้อนความตึงเครียดจากการเปลี่ยนผ่านการปกครอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2566
ชีวประวัติย่อของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ตลอดจนช่วงชีวิตในอังกฤษระหว่างที่สงครามโลกครั้งที่ 2 พร้อมทั้งบทบาทของพระองค์ในฐานะผู้สนับสนุนกิจการเสรีไทยสายอังกฤษในด้านต่างๆ อีกทั้งชีวิตในบั้นปลายของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ในช่วงทศวรรษที่ 2490 รวมไปถึงความสัมพันธ์ที่แนบแน่นระหว่างพระองค์ กับ ครอบครัวปรีดี - พูนศุข พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤศจิกายน
2565
พื้นที่จังหวัดตากได้ปรากฏร่องรอยทางประวัติศาสตร์ในการดำเนินงานของขบวนการเสรีไทย ด้วยเหตุฉะนี้จึงนำไปสู่ความพยายามในการสร้างอนุสรณ์แห่งความทรงจำ ได้แก่ "ถนนเสรีไทย" ขึ้น ด้วยความร่วมมือจากหลายภาคส่วนเพื่อเป็นเกียรติแด่เหล่าวีรชนและผู้กล้าทั้งหลายที้มีส่วนในภารกิจกู้ชาติในครานั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
สิงหาคม
2565
หนึ่งชีวิตที่ผ่านเรื่องราวนานัปการซึ่งเป็นหนึ่งบันทึกในบรรทัดประวัติศาสตร์การเมืองไทย อาทิเช่น บทบาทสำคัญในปฏิบัติการเสรีไทยสายอังกฤษที่ทำให้แผ่นดินสยามคงไว้ซึ่งเอกราช จวบเมื่อแผ่นดินรัชกาลที่ 9 ภายหลังเกิดการรัฐประหาร 2490 ท่านชิ้นได้เดินทางลี้ภัยออกนอกประเทศ และกลับสู่บ้านเกิดเมืองนอนอีกครั้งใช้ชีวิตอยู่ที่ "สวนเสมา" สงบ เย็น และเป็นประโยชน์
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
สิงหาคม
2565
เรื่องราวเกร็ดประวัติศาสตร์ซึ่งเกี่ยวข้องกับปฏิบัติการของขบวนการเสรีไทย ผ่านการทำงานที่เต็มไปด้วยความยากลำบากและความท้าทายในทุกๆ สมรภูมิ
แนวคิด-ปรัชญา
3
มีนาคม
2565
"ความเป็นกลาง" ที่นายปรีดีเน้นย้ำก็ได้ถูกถ่ายทอดออกมาเป็นภาพยนตร์ไทยที่มีชื่อว่า "พระเจ้าช้างเผือก" ซึ่งประกาศในตอนจบไว้ว่า “ชัยชนะแห่งสันติภาพมิได้มีชื่อเสียงบันลือนามน้อยไปกว่าชัยชนะแห่งสงคราม”
Subscribe to สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี