ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สฤษดิ์ ธนะรัชต์

บทบาท-ผลงาน
14
เมษายน
2566
ย้อนรอยความเป็นมาของหมุดก่อกำเนิดรัฐธรรมนูญผ่านหลักฐานชิ้นใหม่ เพื่อทบทวนจุดเริ่มต้นของการริเริ่มให้สร้าง การออกแบบ และองค์กรที่เกี่ยวข้องในการจัดสร้าง ก่อนที่โลหะแผ่นนี้จะกลายเป็นที่จดจำในฐานะอนุสรณ์ทางการเมืองเพื่อระลึกถึงห้วงเวลาสำคัญแห่งการอภิวัฒน์ไปสู่ระบอบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
11
เมษายน
2566
พัฒนาการและการต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งรัฐสวัสดิการในสังคมไทยที่ดำเนินมาตลอดเกือบหนึ่งศตวรรษ โดยชี้ให้เห็นถึงการขับเคลื่อนที่มีหลายแนวทาง บ้างก็สันติวิธี บางครั้งก็ต้องเผชิญหน้าท้าทายตั้งคำถามต่อผู้มีอำนาจ
แนวคิด-ปรัชญา
30
มีนาคม
2566
อ่านฐานคิดว่าด้วยแบ่งเขตในสนามการเลือกตั้งของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านจดหมายถึง 'นายสุกิจ นิมมานเหมินท์' พื่อชวนพิจารณาข้อดีและข้อด้อยผ่านการวิเคราะห์เชิงสถิติอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ เพื่อให้การลงคะแนนเสียงในการเลือกตั้งสะท้อนตามเจตนารมณ์ตามจริงของราษฎรไทย โดยมีกฎกติกาและหลักการที่เป็นธรรมในขั้นตอนการแบ่งเขตการเลือกตั้ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มีนาคม
2566
เรื่องราวของขวัญวันเกิดในปีที่ 38 ซึ่งสะท้อนเจตนารมณ์การทำงาน ศ.ดร.ป๋วย ผ่านสายตาและการยอมรับจากผู้คนที่แวดล้อมรอบข้าง เมื่อครั้งปฏิบัติงานในกระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย ตลอดจนคุณูปการด้านวิชาการและการศึกษา
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ บอกเล่าเรื่องภายหลังจาก "ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" ต้องประสบกับความล้มเหลว รวมไปถึงท่าทีของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งได้แสดงทรรศนะต่อนายปรีดี พนมยงค์ และสถานการณ์ทางการเมืองในขณะนั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2566
อ่านบันทึกประวัติศาสตร์ของขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ ผ่านผ่านบันทึกความทรงจำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ซึ่งแสดงให้เห็นลำดับเหตุการณ์ก่อน-หลัง เหตุแห่งการเกิด และหลักฐานเชิงประจักษ์ อันนำไปสู่การตอบโต้รัฐประหาร 2490 และทวงคืนระบอบประชาธิปไตยสมบูรณ์ให้แก่สังคมไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
25
กุมภาพันธ์
2566
การเดินทางของโฮจิมินห์ กับการปฏิบัติภารกิจในสยาม เมื่อโฮจิมินห์ถึงที่หมายอย่างปลอดภัย หลังจากนั้นเขาได้เดินทางต่อขึ้นมายังทางภาคเหนือและอีสานจนได้พบปะกับชาวเวียดนามโพ้นทะเล พร้อมทั้งทำงานเผยแพร่ความคิดเพื่อกอบกู้เอกราชและภารกิจจากองค์กรคอมมิวนิสต์สากล
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
กุมภาพันธ์
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงผลสืบเนื่องจากการรัฐประหาร 2534 ต่อประเด็นที่มาของตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญไทย วิกฤติทางการเมืองในคราวนั้นถือเป็นฟางเส้นสุดท้ายที่ทำให้ประชาชนได้ตระหนักถึงคุณค่าความยึดโยงของตำแหน่งดังกล่าวต่อประชาชน จนนำไปสู่การสะสางปัญหาที่ยืดเยื้อซึ่งกินเวลายาวนานนับตั้งแต่ยุค 2500
แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2566
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง เขียนถึงศัพท์เกิดใหม่อย่าง "กรุงเทพอภิวัฒน์" โดยวิเคราะห์ผ่านความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างภาษาและการเมือง พร้อมทั้งบอกเล่าความเป็นมาของคำว่า "อภิวัฒน์" ซึ่งถูกนิยามและเชื่อมร้อยเข้ากับบริบททางการเมืองไทยเมื่อราวต้นทศวรรษ 2500 โดย นายปรีดี พนมยงค์ หนึ่งในสมาชิกคนสำคัญของคณะราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
11
ธันวาคม
2565
พิจารณาแกนหลักสำคัญผ่านรัฐธรรมนูญ คือการวางหลักประกันให้แก่สิทธิและเสรีภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน อีกทั้งนำเสนอหลักคิดและอุดมคติของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ซึ่งแสดงทัศนะไว้ต่อประเด็นรัฐธรรมนูญที่มีลักษณะเชิงจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้ถดถอยลง เพื่อถอดบทเรียนไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
Subscribe to สฤษดิ์ ธนะรัชต์