ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สฤษดิ์ ธนะรัชต์

แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2566
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง เขียนถึงศัพท์เกิดใหม่อย่าง "กรุงเทพอภิวัฒน์" โดยวิเคราะห์ผ่านความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างภาษาและการเมือง พร้อมทั้งบอกเล่าความเป็นมาของคำว่า "อภิวัฒน์" ซึ่งถูกนิยามและเชื่อมร้อยเข้ากับบริบททางการเมืองไทยเมื่อราวต้นทศวรรษ 2500 โดย นายปรีดี พนมยงค์ หนึ่งในสมาชิกคนสำคัญของคณะราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
11
ธันวาคม
2565
พิจารณาแกนหลักสำคัญผ่านรัฐธรรมนูญ คือการวางหลักประกันให้แก่สิทธิและเสรีภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน อีกทั้งนำเสนอหลักคิดและอุดมคติของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ซึ่งแสดงทัศนะไว้ต่อประเด็นรัฐธรรมนูญที่มีลักษณะเชิงจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้ถดถอยลง เพื่อถอดบทเรียนไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
บทสัมภาษณ์
8
ธันวาคม
2565
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ชวนคุยกับ 'คุณไกรศรี ตุลารักษ์' วีรชนแห่งขบวนการเสรีไทย อีกทั้งยังเป็นทายาทของ 'คุณสงวน ตุลารักษ์' หนึ่งในผู้ร่วมก่อการอภิวัฒน์สยาม 2475 และบุคคลใกล้ชิดของ 'นายปรีดี พนมยงค์' รวมไปถึงคราวเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งได้เป็นผู้ร่วมชะตาเดียวกันกับขบวนการเสรีไทย
แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤศจิกายน
2565
“วงจรอุบาทว์ทางการเมืองไทย” นั้น เป็นที่รู้กันว่าหมายถึงวงจรแห่งการรัฐประหารฉีกรัฐธรรมนูญเพื่อร่างรัฐธรรมนูญใหม่ขึ้นมารอคณะรัฐประหารคณะต่อไปมาฉีกทิ้ง 
แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤศจิกายน
2565
ลักษณะเฉพาะของรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 นั้น เมื่อประกอบรวมกันจึงฉายภาพให้เห็นถึงตำแหน่งแห่งที่ของเหตุการณ์ดังกล่าวในสายธารประวัติศาสตร์ไทย ที่ได้ส่งผ่านมายังฐานคิดของคนในยุคหลังจากเหตุการณ์นั้น อันมีผลต่อความเคลื่อนไหวทางการเมืองไทยสืบมาจนกระทั่งปัจจุบัน
ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤศจิกายน
2565
ความจริงเรื่องรัฐประหารล้มรัฐบาลนี้ เกิดเป็นรูปเป็นร่างหลังจากพรรคประชาธิปัตย์เปิดอภิปรายทั่วไป ไม่ไว้วางใจรัฐบาลธำรงนาวาสวัสดิ์มาตั้งแต่ปลายพฤษภาคม 2490
แนวคิด-ปรัชญา
24
กันยายน
2565
ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยจนถึงปัจจุบันเป็นเวลา 72 ปี[1] แต่บ้านเมืองเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริงในบางครั้งบางคราวเท่านั้น เพราะได้มีการปฏิวัติรัฐประหารกันมาตลอดเวลาไม่ต่ำกว่า 20 ครั้ง ทั้งที่ทำสำเร็จบ้าง ไม่สำเร็จบ้าง บางครั้งมีการปฏิวัติแล้ว ก็มีการบริหารราชการแผ่นดินกันในระบอบเผด็จการ ไม่มีบทบัญญัติรัฐธรรมนูญใช้บังคับ ในบางยุคมีการบริหารราชการแผ่นดินแบบกึ่งเผด็จการและกึ่งประชาธิปไตย ทั้งนี้สุดแต่จิตสำนึกของผู้ยึดอำนาจแต่ละคน ในยุคปัจจุบันถือได้ว่าเป็นยุคประชาธิปไตยเต็มรูปแบบ ประชาชนมีความตื่นตัวทางการเมือ
แนวคิด-ปรัชญา
22
สิงหาคม
2565
'รัศม์ ชาลีจันทร์' กล่าวถึงการวางรากฐานแนวคิดสันติภาพของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านนโยบายการต่างประเทศ ซึ่งถือเป็นคุณูปการที่สืบเนื่องนับตั้งแต่การอภิวัฒน์สยาม 2475
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กรกฎาคม
2565
'ป๋วย อึ๊งภากรณ์' ผู้ที่ศรัทธาในความยุติธรรม เชื่อมั่นในความเท่าเทียม เคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และปรารถนาที่จะเห็นโลกแห่งประชาธิปไตยที่สมบูรณ์พร้อมด้วยสันติประชาธรรม ตลอดจนมรดกทางความคิดที่ป๋วยได้สร้างไว้ขณะมีชีวิต คือ อุดมการณ์ที่ส่งต่อเพื่อจุดประกายให้แก่คนรุ่นหลังตลอดมา
แนวคิด-ปรัชญา
6
กรกฎาคม
2565
“งานรื่นเริงของพลเมืองในระบอบใหม่” เป็นกิจกรรมสำคัญที่ถูกจัดขึ้นอย่างแพร่หลายในยุคสมัยรัฐบาลคณะราษฎรนับตั้งแต่หลังการปฏิวัติ พ.ศ. 2475
Subscribe to สฤษดิ์ ธนะรัชต์