สหกรณ์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
30
กรกฎาคม
2567
นโยบายและแนวคิดเศรษฐกิจสวัสดิการสังคมของปรีดี พนมยงค์ ปรากฏทันทีภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 ในหลัก 6 ประการ ตามประกาศคณะราษฎร และนำมาสู่การปฏิญาณในรัฐสภา วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชรเสนอว่า นายปรีดีเป็นบุคคลแรกในประวัติศาสตร์สังคมไทยที่มีแนวคิดในด้านสวัสดิการสังคม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
25
กรกฎาคม
2567
การแก้ไขความยากจนให้แก่ราษฎรในแนวคิดของ ดร.ปรีดี พนมยงค์ที่ท่านได้มองว่าเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการขับเคลื่อนเพื่อการพัฒนาประเทศ ตามหลักของคณะราษฎร โดยจะต้องบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
29
เมษายน
2567
ปรีดีนำเสนอแนวคิดเค้าโครงการเศรษฐกิจที่ได้รับอิทธิพลจากลัทธิ Solidarism โดยให้รัฐมีบทบาทสำคัญในการวางแผนและกระจายทรัพยากรอย่างเท่าเทียมเพื่อสร้างความเป็นธรรมทางสังคมและเศรษฐกิจในสังคมไทย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
16
เมษายน
2567
ฐานะของ “สมุดปกเหลือง” หรือ “เค้าโครงการเศรษฐกิจ” มีความน่าสนใจทั้งในบริบทประวัติศาสตร์และปัจจุบัน โดยมีการวิเคราะห์ทั้งในเชิงคุณูปการต่อสังคมและเชิงลบต่อระยะเปลี่ยนผ่านทางการเมืองไทย แต่เมื่อพิจารณามาถึงผลทางเศรษฐกิจและการเมืองกลับพบว่า สมุดปกเหลืองมีคุณูปการต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและการศึกษาแนวคิดสังคมนิยมเศรษฐกิจไปจนถึงการนำหลักเศรษฐกิจบางประการมาวิเคราะห์ว่ามีลักษณะสอดรับกับแนวทางรัฐสวัสดิการ แล้วปรับใช้กับนโยบายของพรรคการเมือง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
9
เมษายน
2564
เมื่ออ่านเค้าโครงการเศรษฐกิจครั้งแรก มีความรู้สึกเหมือนกับว่าท่านอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ให้ความสำคัญกับการวางแผนเศรษฐกิจจากส่วนกลาง เมื่ออ่านครั้งต่อๆไปก็เริ่มเห็นความสำคัญของส่วนของชาวบ้าน ส่วนของท้องถิ่น ในเค้าโครงการฯ คือในตอนที่ว่าด้วยสหกรณ์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
19
สิงหาคม
2563
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น ปัญหาการขาดแคลนสินค้าอุปโภคบริโภคเป็นปัญหาสำคัญที่กระทบต่อชีวิตของประชาชนเป็นอย่างมาก สินค้าบางอย่างที่ในปัจจุบันไม่ได้หายากอย่างเช่น ผ้าห่ม และเสื้อผ้า กลับมีค่า มีราคา และมีความสำคัญเป็นอย่างมาก
บทความ • บทบาท-ผลงาน
8
กรกฎาคม
2563
'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' ตั้งข้อสังเกตถึงสาระสำคัญบางประการใน 'เค้าโครงการเศรษฐกิจ' ของปรีดี พนมยงค์ คือ เรื่องการกระจายอำนาจเพื่อเป็นฐานในทางเศรษฐกิจไปยังพื้นที่ชนบท และการสร้างระบบเศรษฐกิจความมั่นคงของชาติ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
7
พฤษภาคม
2563
การอ่าน "เค้าโครงการเศรษฐกิจ” ที่หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (อาจารย์ปรีดี พนมยงค์) เขียนขึ้นในปี พ.ศ. 2476 ต้องทำความเข้าใจบริบทของประเทศไทยในช่วงก่อนปี 2476 ที่มีปัญหาเศรษฐกิจ ชาวนาที่เป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ มีความเป็นอยู่ลำบาก ไม่สามารถเข้าถึงที่ดิน เงินทุน เทคโนโลยี มีปัญหาชลประทานและถูกเก็บภาษีทีไม่เป็นธรรม ประกอบกับการค้าอยู่ในมือของต่างชาติ อาจารย์ปรีดีจึงเห็นว่าการที่จะได้มาซึ่งประชาธิปไตยต้องเริ่มจากการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและความยากจนของชาวชนบท และในสมัยนั้นราษฎรยังคงอ่อนแอ แนวทางเดียวที่จะบำรุงความสุขสมบูรณ์ให้ราษฎรคือรัฐบาลจะต้องมีบทบาทในการจัดการเศรษฐกิจ
1
มีนาคม
2563
ประสบการณ์และความเห็นบางประการของรัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์
หนังสือเล่มนี้บทสัมภาษณ์นายปรีดี พนมยงค์ โดยฉัตรทิพย์ นาถสุภา เพื่อรวบรวมทรรศนะต่างๆ ของปรีดี พนมยงค์ในฐานะรัฐบุรุษอาวุโสคนแรก
ผู้เขียน : ฉัตรทิพย์ นาถสุภา
พิมพ์ที่ : สถาบันปรีดี พนมยงค์, กรุงเทพมหานคร
พิมพ์ครั้งที่ : 2
ปีที่พิมพ์ : 2542
จำนวนหน้า : 124 หน้า
ISBN : 974-7833-34-4
สารบัญ
1
มีนาคม
2563
ปรีดีคิด ปรีดีเขียน
หนังสือเล่มนี้คุณสุพจ์ ด่านตระกูลผู้ติดตามผลงานของนายปรีดี พนมยงค์มาโดยตลอดนั้นได้เขียนขึ้นเพื่อสรุปแนวคิดของปรีดี พนมยงค์ในเรื่องต่างๆ เอาไว้
ผู้เขียน : สุพจน์ ด่านตระกูล
พิมพ์ที่ : เรือนแก้วการพิมพ์, กรุงเทพมหานคร
พิมพ์ครั้งที่ : -
ปีที่พิมพ์ : 2543
จำนวนหน้า : 163 หน้า
ISBN : 974-07833-87-5
สารบัญ