ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สหภาพโซเวียต

เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มีนาคม
2566
เรื่องราวการเดินทางมุ่งหน้ากลับสู่บ้านเกิดเมืองนอนของโฮจิมินห์ พร้อมทั้งสถานการณ์ที่ต้องเผชิญหน้าทั้งเจ้าอาณานิคมเดิมคือฝรั่งเศส และผู้รุกรานใหม่อย่างญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งนำไปสู่การจัดตั้งแนวร่วมพันธมิตรเพื่อเอกราชของเวียดนาม หรือ "เวียดมินห์"
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
มีนาคม
2566
โฮจิมินห์กลับเข้าศึกษาต่อ ณ กรุงมอสโก สหภาพโซเวียต พร้อมทั้งทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงให้กับสหายชาวเวียดนามคนอื่นๆ ที่กำลังศึกษาเช่นเดียวกัน ชัยชนะของพรรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศส และผลของการสงบศึกชั่วคราวระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์จีนกับก๊กมินตั๋ง เปิดโอกาสขยับย่นย่อให้การกอบกู้เอกราชของชาวเวียดนามเดินมาถึงในเร็ววัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
กุมภาพันธ์
2566
โฮจิมินห์กับชีวิตในสหภาพโซเวียต เขาอุทิศเวลาส่วนใหญ่ไปกับการศึกษาหาความรู้ทางทฤษฎีมาร์กซ์-เลนิน เมื่อได้เข้าทำงานที่องค์กรคอมมิวนิสต์สากล (Communist International / Comintern) โฮจิมินห์มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนและถกปัญหาต่อประเด็นต่างๆ อยู่ตลอดเวลา
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
ธันวาคม
2565
'ทวีป วรดิลก' เขียนถึง ชื่อเสียงของ 'หวอเหงียนย้าป' ที่ขจรไปไกลสืบเนื่องจากการต่อต้านลัทธิล่าอาณานิคมฝรั่งเศสและอเมริกาได้จนสำเร็จ อีกทั้งเรื่องราวความสัมพันธ์ระหว่าง 'นายปรีดี พนมยงค์' และ 'โฮจิมินห์' ที่นำพาให้ผู้เขียนและ 'ศุขปรีดา พนมยงค์' พร้อมด้วย "คณะมิตรภาพ" ได้เดินทางเข้าเยี่ยมเยียนหวอเหงียนย้าป ณ ที่พำนัก
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
พฤศจิกายน
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ตอนที่ 14 ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : หวอเหงียนย้าป จอมทัพคู่บารมีโฮจิมินห์ : สมรภูมิเวียดนามใต้ การตรากตรำทำงานอย่างหนักของ หวอเหงียนย้าป มาตั้งแต่วัยหนุ่มตลอดจนการรับหน้าที่บัญชาการในสงครามปลดปล่อยภาคใต้ ทำให้สุขภาพของท่านเริ่มทรุดโทรมถดถอยไปมาก โดยเฉพาะขณะที่ท่านมีอายุได้ 63 ปี คือในปี 1974 ขณะการรบปลดปล่อยขั้นแตกหักได้ก้าวเข้าสู่ชัยชนะในขั้นสุดท้ายแล้ว
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
ตุลาคม
2565
จากชัยชนะศึกเดียนเบียนฟู นำมาซึ่งข้อตกลงเจนีวา ปี ค.ศ. 1954 นั้น มีการระบุไว้ว่าปี ค.ศ. 1956 ต้องจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในเวียดนามภาคใต้ เพื่อตัดสินว่าจะเข้ารวมประเทศเป็นเอกภาพกับเวียดนามภาคเหนือ หรือจะให้เวียดนามภาคใต้ดำเนินรูปแบบการปกครองอย่างหนึ่งอย่างใด
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
กันยายน
2565
แม้ในกองทัพเวียดมินห์จะมีชัยชนะเหนือฝรั่งเศสติดต่อกัน นับตั้งแต่ยุทธการเปิดชายแดนในปี ค.ศ. 1950 แต่ผู้บัญชาการหวอเหงียนย้าปก็มิอาจประมาท ยังคงดำเนินทุกย่างก้าวของกองทัพเวียดมินห์ด้วยความรอบคอบ เพราะจุดหมายในครั้งนี้ คือ ความปราชัยและดับฝันการขยายอำนาจเหนืออินโดจีนทั้งหมดของฝรั่งเศส
แนวคิด-ปรัชญา
22
สิงหาคม
2565
'รัศม์ ชาลีจันทร์' กล่าวถึงการวางรากฐานแนวคิดสันติภาพของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านนโยบายการต่างประเทศ ซึ่งถือเป็นคุณูปการที่สืบเนื่องนับตั้งแต่การอภิวัฒน์สยาม 2475
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
สิงหาคม
2565
ปฏิบัติการภายใต้บัญชาการของหวอเหงียนย้าป สามารถนำโฮจิมินห์และคณะกรรมการศูนย์กลางของพรรคคอมมิวนิสต์เคลื่อนเข้าสู่ฐานที่มั่นได้อย่างปลอดภัย ซึ่งในเวลาต่อมา กองทัพประชาชนได้ยกระดับแนวรบและพัฒนากำลังพลมากขึ้น รวมไปถึงการได้รับความร่วมมือจากประชาชนในท้องถิ่นมากขึ้นเรื่อยๆ
แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2565
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อเข้าใจประวัติศาสตร์แห่งการอภิวัฒน์ PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
Subscribe to สหภาพโซเวียต