สหรัฐอเมริกา
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
5
พฤษภาคม
2568
การเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 ของไทยข้างญี่ปุ่น จึงเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญที่กระทบต่ออธิปไตยและหลักประชาธิปไตยของชาติ ที่ไม่สามารถทำให้ความสัมพันธ์ต่อประเทศสัมพันธมิตรดีขึ้นได้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
3
พฤษภาคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิจารณ์การระบาดของโรคหวาดกลัวคอมมิวนิสต์ในอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งนำไปสู่การตรวจสอบประชาชนจำนวนมากอย่างไม่มีเหตุผลชัดเจน และนักการเมืองบางกลุ่มใช้กระแสนี้เพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
27
เมษายน
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เขียนถึงการตื่นกลัวคอมมิวนิสต์ในช่วงต้นสงครามเย็น อย่างการกล่าวหาเลขาธิการสหประชาชาติเป็นว่าคอมมิวนิสต์ กุหลาบชี้ให้ผู้คนตระหนักถึงภัยของสงคราม และเสนอแนวทางสันติภาพที่ไม่ตกเป็นเครื่องมือของฝ่ายใด
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
19
เมษายน
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิจารณ์รัฐบาลปี พ.ศ. 2493 ว่าดำเนินนโยบายสำคัญโดยไม่ฟังประชาชน เช่น การซื้อรถถัง ทำสัญญาทางทหาร และใช้กฎหมายพิเศษปิดกั้นเสรีภาพ เสนอให้รัฐบาลฟังเสียงประชาชนอย่างจริงใจ เพื่อยึดหลักการปกครองโดยผู้แทนราษฎร
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
8
เมษายน
2568
การตอบโต้ภาษีการค้าและเปลี่ยนแปลงของระบบการค้าโลก อาเซียนต้องผนึกกำลังเจรจาระดับภูมิภาค เพื่อก่อตั้ง North Asia and AEC New Free Trade Zone พร้อมกระจายตลาดส่งออก ลดการพึ่งพาสหรัฐอเมริกา
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
มีนาคม
2568
ไทยสามารถรอดพ้นจากสถานะประเทศผู้แพ้สงครามด้วยยุทธศาสตร์ทางการเมืองและการทูตอันซับซ้อน ผ่านบทบาทของขบวนการเสรีไทย และการใช้ประโยชน์จากดุลอำนาจระหว่างประเทศโดยเฉพาะความขัดแย้งระหว่างอังกฤษกับสหรัฐอเมริกา
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มีนาคม
2568
ป๋วย อึ๊งภากรณ์ เล่าประสบการณ์และการก่อตั้งเสรีไทยสายอังกฤษในสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2 รวมทั้งเสนอให้เห็นอุดมคติเพื่อชาติและราษฎรของเสรีไทย นอกจากนี้ยังระบุชื่อบุคคลสำคัญในขบวนการเสรีไทยในห้วงเวลานั้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
22
มีนาคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิเคราะห์บทเรียนของเวียดนามชวนให้รัฐบาลไทยตระหนักที่ประชาชนยอมรับโฮจิมินห์มากกว่าเบาได๋ที่ได้รับการยอมรับจากประเทศมหาอำนาจ และวิพากษ์วิจารณ์สหรัฐอเมริกาที่มีอิทธิพลในยุคสงครามเย็น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
14
มีนาคม
2568
การให้ความสำคัญต่อการวิเคราะห์ Mega Project ต้องสังเกตความคุ้มค่าหลายมิติที่ไม่ได้มีแค่เรื่องของตัวเลขทางเศรษฐศาสตร์ แต่รวมถึงภูมิรัฐศาสตร์ที่มีส่วนในการถ่วงดุลอำนาจต่อการลงทุนร่วมกันของหลายฝ่านที่ต้องคำนึงถึงบริบทอีกด้วย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to สหรัฐอเมริกา
11
มีนาคม
2568
อนุสรณ์ ธรรมใจ เสนอประเด็นยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ Landbridge ภายใต้ดุลยภาพแห่งอำนาจของจีนและสหรัฐอเมริกาโดยเชื่อมโยงกับข้อเสนอของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อปี 2478 โดยเฉพาะเรื่องทุนเพื่อไม่ให้ชาติเสียเอกรราชและอธิปไตย