ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สัญญา ธรรมศักดิ์

เกร็ดประวัติศาสตร์
16
กันยายน
2567
สาส์นของนายปรีดี พนมยงค์ ถึงนายสุกิจ นิมมานเหมินท์ รองนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 15 ธันวาคม 2516 อภิปรายเรื่องการเลือกตั้ง พ.ศ. 2489-2500 โดยเน้นการวิเคราะห์ไปที่การเลือกตั้ง 15 ธันวาคม 2500 โดยใช้สถิติจากหนังสือรายงานการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของกระทรวงมหาดไทยเล่ม 2 ประกอบการวิเคราะห์ดังกล่าว
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤษภาคม
2566
ทบทวนประวัติศาสตร์ความเคลื่อนไหวภาคประชาชน และการเรียกร้องเพื่อยุติการสืบทอดของอำนาจนอกระบบจากเหตุการณ์ "พฤษภาประชาธรรม" พร้อมทั้งทัศนะของนายปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้ต่อประเด็นการต่อต้านระบอบเผด็จการและระบอบอำนาจนิยม
แนวคิด-ปรัชญา
30
มีนาคม
2566
อ่านฐานคิดว่าด้วยแบ่งเขตในสนามการเลือกตั้งของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านจดหมายถึง 'นายสุกิจ นิมมานเหมินท์' พื่อชวนพิจารณาข้อดีและข้อด้อยผ่านการวิเคราะห์เชิงสถิติอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ เพื่อให้การลงคะแนนเสียงในการเลือกตั้งสะท้อนตามเจตนารมณ์ตามจริงของราษฎรไทย โดยมีกฎกติกาและหลักการที่เป็นธรรมในขั้นตอนการแบ่งเขตการเลือกตั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
15
มีนาคม
2566
สำรวจความคิดของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ต่อภูมิทัศน์ทางการเมืองและระบอบประชาธิปไตย อันเป็นทรรศนะที่พิสูจน์แล้วว่าไม่เคยเก่าไปจากสังคมไทย หากเป็นแนวทางที่ยังคงร่วมสมัยควบคู่ไปกับทุกๆ ย่างก้าวของพลวัตที่เคลื่อนไปข้างหน้า เพื่อทบทวนบทเรียนแก่การเมืองในระยะเปลี่ยนผ่านที่กำลังจะมาถึง
แนวคิด-ปรัชญา
14
มีนาคม
2566
ปัญหาการเกิดขึ้นของ "นายกฯ คนนอก" ด้วยกระบวนการที่เปิดประตูให้แก่บุคคลนอกระบอบเล็ดลอดเข้ามามีอำนาจโดยไม่ผ่านกลไกด้วยระบอบประชาธิปไตย ปัญหาดังกล่าวถูกปิดตายด้วยรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน ฉบับ 2540 กระทั่งปัญหาดังกล่าวบังเกิดอีกครั้งภายหลังการแทรกแซงทางการเมืองเมื่อปี พ.ศ. 2557 ในรัฐธรรมนูญสืบทอดอำนาจ ฉบับ 2560
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มกราคม
2566
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง เขียนถึงศาตราจารย์ดิเรก ชัยนาม เนื่องในวาระ 118 ปี ชาตกาล 18 มกราคม 2566 โดยกล่าวถึงชีวประวัติย่อและการทำงาน รวมไปถึงบทบาททางการเมืองเมื่อครั้งสงครามโลกครั้งที่ 2 และการดำเนินงานในกิจการเสรีไทย
แนวคิด-ปรัชญา
15
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงความสำคัญของการปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ อันมีหัวใจสำคัญคือการยึดโยงต่อประชาชน เพื่อการสถาปนารัฐและระบอบการเมืองที่มั่นคง พร้อมกันนี้ยังได้นำเสนอทางออกของวิกฤติที่ไทยกำลังเผชิญหน้ารวมทั้งสิ้น 6 ประการ เพื่อยุติความขัดแย้งและหาจุดร่วมให้แก่ความคิดเห็นที่แตกต่างกันของคนในสังคม
ชีวิต-ครอบครัว
30
ตุลาคม
2565
108 ปี ชาตกาล 'จำกัด พลางกูร'
25
สิงหาคม
2565
สถาบันปรีดี พนมยงค์ - สถาบันสัญญาธรรมศักดิ์เพื่อประชาธิปไตย ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลง (MOU) เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2565 ที่ผ่านมา ณ ห้องประชุมสถาบันสัญญาธรรมศักดิ์เพื่อประชาธิปไตย มธ. ท่าพระจันทร์ เพื่อเป็นเครือข่ายพันธมิตรในการพัฒนา ส่งเสริมการค้นคว้าและงานวิจัย บนจุดยืนร่วมกันผ่านอุดมการณ์ของ ศ.ดร.ปรีดี พนมยงค์ และ ศ.สัญญา ธรรมศักดิ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กรกฎาคม
2565
'ป๋วย อึ๊งภากรณ์' ผู้ที่ศรัทธาในความยุติธรรม เชื่อมั่นในความเท่าเทียม เคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และปรารถนาที่จะเห็นโลกแห่งประชาธิปไตยที่สมบูรณ์พร้อมด้วยสันติประชาธรรม ตลอดจนมรดกทางความคิดที่ป๋วยได้สร้างไว้ขณะมีชีวิต คือ อุดมการณ์ที่ส่งต่อเพื่อจุดประกายให้แก่คนรุ่นหลังตลอดมา
Subscribe to สัญญา ธรรมศักดิ์