ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สัญญา ธรรมศักดิ์

แนวคิด-ปรัชญา
6
ธันวาคม
2564
บริบทของการพัฒนากฎหมายแรงงานในประเทศไทย เริ่มต้นก่อรูปอย่างเป็นรูปเป็นร่างขึ้นในช่วงหลังปี 2475 เนื่องจากในเวลานั้นอาชีพของคนส่วนใหญ่เป็นข้าราชการและเกษตรกร อาชีพแรงงานยังเป็นอาชีพของคนส่วนน้อยในประเทศ[1] และกลุ่มผู้ใช้แรงงานโดยส่วนมากเป็นคนต่างด้าวมากกว่า 
แนวคิด-ปรัชญา
18
พฤศจิกายน
2564
ฉะนั้นข้าพเจ้าในฐานะราษฎรคนหนึ่ง และในฐานะรัฐบุรุษอาวุโสจึงขอเสนอความเห็นมายังท่านและรัฐบาลดังต่อไปนี้
บทบาท-ผลงาน
10
กรกฎาคม
2564
“กฎหมายมหาชน” เป็นนวัตกรรมทางกฎหมายที่ประเทศไทยนำเข้าจากต่างประเทศ ในฐานะของกลุ่มสาขาวิชากฎหมายที่มีส่วนในการกำหนดขอบเขตการใช้อำนาจรัฐมิให้ละเมิดต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤษภาคม
2564
"พฤษภาทมิฬ" เหตุการณ์สำคัญหน้าหนึ่งที่ถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เกิดขึ้นเมื่อคราวที่ พลเอก สุจินดา คราประยูร ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยชนวนเหตุครั้งนั้น คือ การต่อต้านการสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) หัวหน้าผู้ก่อการ คือ พลเอก สุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ณ ขณะนั้น ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลของ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2534
บทบาท-ผลงาน
18
พฤศจิกายน
2563
หากจะกล่าวว่า ท่านปรีดีผู้วางรากฐานการศึกษากฎหมายปกครองและการจัดตั้งศาลปกครองของไทย ก็คงจะไม่เกินความเป็นจริง
บทบาท-ผลงาน
14
ตุลาคม
2563
หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 นายปรีดี พนมยงค์ เขียนบทความที่พิจารณาถึงเจตนารมณ์ของวีรชน 14 ตุลาฯ พร้อมทั้งการตั้งข้อสังเกตเบื้องต้นถึงการพิทักษ์เจตนารมณ์ของเหล่าวีรชนไว้
บทสัมภาษณ์
7
กรกฎาคม
2563
"ควรปรับปรุง (การเผยแพร่พุทธศาสนา) ให้ทันสมัย เช่นว่า ควรจะมีเพลงทางศาสนาของพุทธศาสนาบ้าง ผมบอกว่าผมไม่มีหัวทางนี้" พระมหาเงื่อม อินทฺปญฺโญ ย้อนรำลึกถึงเรื่องที่เคยสนทนากับนายปรีดี พนมยงค์ ที่ทำเนียบท่าช้าง ใน พ.ศ. 2485 ผ่านบทสัมภาษณ์ของพระดุษฎี เมธงฺกุโร เมื่อปี 2531
Subscribe to สัญญา ธรรมศักดิ์