สัมพันธมิตร
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
2
พฤษภาคม
2568
รัฐบาลไทยประกาศนโยบายรักษาความเป็นกลางและไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด พร้อมยืนยันเอกราชของชาติเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และพยายามรักษาความสัมพันธ์แบบเป็นมิตรทั้งกับญี่ปุ่นและอังกฤษ ในสถานการณ์สงครามที่ตึงเครียดยิ่งขึ้น
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
30
เมษายน
2568
สถานการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ตึงเครียดมากขึ้น ในขณะเดียวกันรัฐบาลหลวงพิบูลสงครามมีความต้องการที่จะเรียกร้องดินแดนที่ไทยเคยสูญเสียให้แก่ฝรั่งเศสกลับคืนมาโดยเฉพาะฝั่งขวาของแม่น้ำโขง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
เมษายน
2568
ศ. ดร. กนต์ธีร์ ศุภมงคล อธิบายถึงยุทธศาสตร์ “วิเทโศบายของไทย” ในช่วงวิกฤตการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ต้องการรักษาสันติภาพและความเป็นกลาง ตลอดจนการรักษาอธิปไตยของประเทศ ไม่ให้ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจนกระทบต่อเอกราช
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
มีนาคม
2568
ไทยสามารถรอดพ้นจากสถานะประเทศผู้แพ้สงครามด้วยยุทธศาสตร์ทางการเมืองและการทูตอันซับซ้อน ผ่านบทบาทของขบวนการเสรีไทย และการใช้ประโยชน์จากดุลอำนาจระหว่างประเทศโดยเฉพาะความขัดแย้งระหว่างอังกฤษกับสหรัฐอเมริกา
บทความ • บทบาท-ผลงาน
8
มีนาคม
2568
เอกสารทางการทูตในระหว่างสงครามโลก ครั้งที่ 2 แสดงให้เห็นถึงการเจรจาลับทางการทูตต่ออังกฤษและสหรัฐอเมริกา ทั้ง 2 ประเทศนี้มีความเห็นต่างกันโดยสหรัฐอเมริกามีแนวโน้มสนับสนุนไทยให้เป็นอิสระจากอิทธิพลของอังกฤษ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
7
มีนาคม
2568
เอกสารทางการทูตชุดนี้เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์สะท้อนถึงความสัมพันธ์ทางการทูตสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2 ของขบวนการเสรีไทยกับสหรัฐอเมริกา และอังกฤษเพื่อต่อต้านกองทัพญี่ปุ่นและปกป้องเอกราชอธิปไตยของไทย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
3
มีนาคม
2568
ไทยรอดจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ไม่ใช่เพราะ "ปาฏิหาริย์" แต่เพราะยุทธศาสตร์ทางการทูตและขบวนการเสรีไทย ทั้งนายปรีดี พนมยงค์ ปฏิเสธลงนามในประกาศสงครามฯ โดยต่อมาการประกาศสันติภาพในปี 2488 ยังช่วยให้ไทยไม่ตกเป็นประเทศผู้แพ้สงคราม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
1
มีนาคม
2568
บทความนี้โต้แย้งแนวคิดที่ว่าไทยรอดจากการเป็นผู้แพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ด้วยความบังเอิญ โดยเน้นบทบาทของขบวนการเสรีไทยและยุทธศาสตร์ทางการทูตของปรีดี พนมยงค์ ที่ช่วยให้ไทยไม่ตกเป็นประเทศผู้แพ้สงคราม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
27
สิงหาคม
2567
บันทึกรายละเอียดเหตุการณ์ภายหลังรัฐบาลไทยประกาศสงครามต่อสัมพันธมิตร และรัฐบาลไทยได้ดำเนินการปฎิบัติการทางทหารในพื้นที่ เชียงตุงกับเมืองพานและชายแดนจีน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to สัมพันธมิตร
3
พฤศจิกายน
2566
จากปัจจัยสำคัญที่ทำให้ญี่ปุ่นและเยอรมนีประสบความสำเร็จนี้ นับเป็นสิ่งที่ประเทศไทยสามารถเรียนรู้จากประสบการณ์ของญี่ปุ่นและเยอรมนีเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจให้เจริญรุ่งเรืองได้