ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สิทธิสตรี

เกร็ดประวัติศาสตร์
10
เมษายน
2567
คุณหญิงจันทนี สันตะบุตร ระลึกถึงคุณหญิงแร่ม พรหโมบล บุณยประสพ ผู้เป็นต้นแบบและมีบทบาทสำคัญในการเรียกร้องสิทธิสตรีไทย จนประสบความสำเร็จในการแก้ไขกฎหมายที่เปิดโอกาสให้สตรีไทยเจริญก้าวหน้าในสังคมเทียบเท่าผู้ชาย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
23
เมษายน
2566
'แบม — กัญรภา อุทิศธรรม' กับ 'พริม — พริมรติ เภตรากาศ' พร้อมผู้ที่อยู่เบื้องหลังอย่าง 'ครูนาฏ — สินีนาฏ เกษประไพ' ทั้ง 3 ศิลปินร่วมแชร์ความคิดและพูดคุยถึงเส้นทางของ “Body Matters” A body dialogue about women ที่กว่าจะตกผลึกเป็นการแสดงอวดสู่สายตาผู้ชม สื่อความหมายว่าสิทธิเสรีภาพของมนุษย์นั้นไม่มีเพศเป็นตัวแบ่งแยก
แนวคิด-ปรัชญา
8
มีนาคม
2566
การเดินทางเพื่อความเสมอภาคของสิทธิสตรี ซึ่งพวกเธอต้องเผชิญหน้าต่อปัญหาเชิงโครงสร้างทั้งในทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยมีเหตุปัจจัยมาจากฐานคิดความไม่เท่าเทียมทางเพศ อาทิ ความรุนแรงทางเพศ อนามัยเจริญพันธุ์ สิทธิทางการเมือง ฯลฯ
แนวคิด-ปรัชญา
24
มกราคม
2566
ภีรดา ชวนพิจารณาถึงฐานะทางประวัติศาสตร์ของการเลือกตั้งไทยในช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมือง โดยวิพากษ์และเปรียบเทียบพัฒนาการทางการเมืองในช่วงเวลาที่ไล่เลี่ยกันต่อพื้นที่อื่นๆ ในฟากฝั่งตะวันตก ซึ่งเป็นการท้าทายต่อองค์ความรู้เดิมของพัฒนาการสิทธิสตรีต่อการเลือกตั้ง
ชีวิต-ครอบครัว
19
มกราคม
2566
ความเป็นมาของเพลง "คนดีมีค่า" และ "แม่จ๋า" รวมไปถึงบทบาททางสังคมและบทบาทในฐานะแม่ของ 'ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์' และ 'คุณหญิงจันทนี สันตะบุตร' อีกทั้งความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างสองครอบครัวซึ่งเป็นความผูกพันที่เอื้ออาทรต่อกัน ตลอดจนบทเรียนที่ได้ทิ้งไว้ให้แก่คนรุ่นหลังผ่านฉากและชีวิตของสตรีทั้งสอง
17
มกราคม
2566
ภัสราวลี ธนกิจวิบูลย์ผล กล่าวถึงปัญหาสำคัญในสังคมได้แก่การตีตราและจำกัดบทบาทต่อสตรี โดยยกกรณีตัวอย่างผ่านเรื่องราวภายในครอบครัว บุคคลรอบข้าง รวมไปถึงบทบาทในฐานะคนรุ่นใหม่ ผู้ออกมาเคลื่อนไหวทางการเมืองและเรียกร้องประชาธิปไตย รวมไปถึงพัฒนาการของการเคลื่อนไหวที่ขับเคลื่อนต่อประเด็นสิทธิผู้มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย
9
มกราคม
2566
ข่าวการจัดงานเสวนา PRIDI Talks #19: 111 ปี ชาตกาล ท่านผู้หญิง พูนศุข พนมยงค์ “สิทธิมนุษยชนกับความเท่าเทียมทางเพศในรัฐธรรมนูญไทย” ขึ้น ณ สมาคมธรรมศาสตร์ฯ ซอยงามดูพลี เมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2566
แนวคิด-ปรัชญา
4
มกราคม
2566
โครงสร้างของระบอบชายเป็นใหญ่ (Patriarchy) ซึ่งเป็นฐานคิดหนึ่งที่ถูกปะทะจากการเข้าสู่ระบอบใหม่ จนเกิดบรรทัดฐานใหม่ทางเพศในสังคมและการเคลื่อนไหวของสตรีภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ตลอดจนนำไปสู่การรื้อสร้างและต่อสู้ทางวัฒนธรรมที่ยังคงดำเนินต่อไป
แนวคิด-ปรัชญา
3
มกราคม
2566
เสียงสะท้อนหนึ่งจากการเคลื่อนไหวทางสังคมในโมงยามปัจจุบัน คือการขับเคลื่อนต่อประเด็นสิทธิมนุษยชนและความเสมอภาคทางเพศแก่ประชาชน เพื่อรองรับแก่คนทุกผู้ทุกนามผ่านรัฐธรรมนูญ ไม่ว่าเขาเหล่านั้นจะอยู่ในเพศวิถีหรือเพศสภาพใดก็ตาม
แนวคิด-ปรัชญา
25
ธันวาคม
2565
บทบาทของสตรีในทางการเมือง เป็นอีกหนึ่งเครื่องชี้วัดสำคัญของความเป็นประชาธิปไตยในระดับสากล คุณหญิงจันทนีถือเป็นคุณูปการสำคัญที่ขับเคลื่อนเรื่องสิทธิและเสรีภาพของผู้หญิงในทุกๆ มิติให้มีความรุดหน้ามากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในโมงยามที่เสียงของผู้หญิงนั้นถูกละเลย ถือได้ว่าการทำงานของคุณหญิงจันทนีเป็นอีกหนึ่งจุดเปลี่ยนและรากฐานเพื่อปูทางไปสู่การขับเคลื่อนประเด็นดังกล่าวต่อมาในอนาคต
Subscribe to สิทธิสตรี