ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สุรชาติ บำรุงสุข

แนวคิด-ปรัชญา
23
กุมภาพันธ์
2567
ทหารในกองทัพสมัยใหม่ เป็นการปฏิรูปวัฒนธรรมองค์กรให้มีความสามัคคีเป็นหนึ่งเดียว ไม่มีการแตกแยก อีกทั้งยังทำหน้าที่เป็นเครื่องมือของรัฐบาลที่จะป้องกันประเทศไม่ให้คู่ตรงข้ามเข้ามารุกรานและสามารถเอาชนะคู่ศัตรูได้ภายใต้สงครามยุคใหม่
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
ตุลาคม
2566
กวินพร เจริญศรี นำเรื่องราว ปาฐกถา บทเพลง และบทสนทนาที่เกิดขึ้นภายในงาน “เจ้าฝันถึงโลกสีใด” 14 ตุลา จิตวิญญาณประชาธิปไตย เนื่องในวาระ 50 ปี 14 ตุลา โดยเรียบเรียงออกมาสู่ผู้อ่านอีกครั้งในรูปแบบบทความถึงบรรยากาศ ประเด็น และเนื้อหาสำคัญที่สมควรเน้นย้ำในฐานะของการรำลึก “50 ปี 14 ตุลา”
แนวคิด-ปรัชญา
24
เมษายน
2566
เงื่อนไขที่เป็นไปได้ของการปฏิรูปกองทัพในส่วนของการเกณฑ์ทหาร คือ การระดมกำลังพลด้วยระบบอาสาสมัคร ผ่านการถอดบทเรียนจากประวัติศาสตร์การเมืองโลก ซึ่งนำไปสู่การปรับเปลี่ยนรูปแบบการเกณฑ์ทหารที่สอดคล้องต่อยุคสมัย
แนวคิด-ปรัชญา
23
กุมภาพันธ์
2566
สุรชาติ บำรุงสุข ชวนค้นหานิยามของการรัฐประหาร พร้อมสำรวจปัจจัยรอบด้านที่มีอิทธิพล อันนำไปสู่การเปิดโอกาสให้เหล่านักรัฐประหารมักใช้เป็นข้ออ้างและเครื่องมือในภารกิจเข้าแทรกแซงทางการเมือง นอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นว่าองคาพยพสำคัญใดบ้างที่จำแลงกายเป็นสะพานหรือแขนขาให้แก่ทรราชขับรถถังออกมาแย่งชิงอำนาจของประชาชน
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
ธันวาคม
2565
(1) 12 มีนาคม 1954   “จะไม่มีปืนใหญ่ของเวียดมินห์กระบอกใดยิงได้เกินกว่าสามนัด โดยไม่ถูกทำลายด้วยปืนใหญ่ของเรา” Charles Piroth ผู้บังคับการหน่วยทหารปืนใหญ่ ของฝรั่งเศสที่เดียนเบียนฟู
ชีวิต-ครอบครัว
29
ตุลาคม
2565
คุณศุขปรีดา พนมยงค์ เป็นหัวหน้าพาคณะมิตรสหายไปเยี่ยมเยือนและคารวะผู้อาวุโส ยังประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามหลายครั้ง ผมมีโอกาสติดตามไป 2 ครั้ง เมื่อปี พ.ศ. 2544 และ พ.ศ. 2548 ตามลำดับ จากนั้น คุณศุขปรีดาลงมือเขียนประวัติท่านโฮจิมินห์ ส่งไปลงพิมพ์เป็นตอนๆ ในนิตยสารมติชนสุดสัปดาห์ เมื่อต้นปี พ.ศ. 2549 และรวมพิมพ์เล่มครั้งแรก โดยสำนักพิมพ์มิ่งมิตร — บริษัทชนนิยม จำกัด เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2549 ในชื่อเล่มที่คุณขรรค์ชัย บุนปาน ประธานเครือบริษัทมติชน จำกัด เป็นผู้ตั้งให้ “โฮจิมินห์ เทพเจ้าผู้ยังมีลมหายใจ”
แนวคิด-ปรัชญา
19
กันยายน
2565
ความสำเร็จของการรัฐประหารกันยายน 2549 เป็นตัวอย่าง อันดีที่พิสูจน์ให้เห็นถึงความเปราะบางของระบอบการเมืองไทย
แนวคิด-ปรัชญา
16
กันยายน
2565
ในระยะเปลี่ยนผ่านทางการเมืองของทุกประเทศ ปัญหาประการหนึ่งที่สำคัญที่ต้องการบริหารจัดการก็คือ ประเด็นของความสัมพันธ์พลเรือน-ทหาร หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ ปัญหาของความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งกับกองทัพ
บทบาท-ผลงาน
25
มีนาคม
2565
คุณูปการสำคัญยิ่งของทรรศนะปรีดี พนมยงค์ เรื่องสงครามและสันติภาพ คือการส่งต่อความรู้สู่คนรุ่นใหม่ให้ฉุกคิดถึงความสำคัญของทุกชีวิตที่ไม่ควรจากไปเพราะสงครามอันเป็นผลประโยชน์ระหว่างประเทศมหาอำนาจ ที่มิใช่เพื่อประโยชน์ของประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
22
พฤษภาคม
2564
หลังจากการเลือกตั้งทั่วไปเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2550 แล้ว ก็มีการจัดตั้งรัฐบาลพลเรือนขึ้น แต่ก็เห็นได้ชัดว่าระยะเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นนั้นยังมีความอ่อนแออยู่มาก
Subscribe to สุรชาติ บำรุงสุข