ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สุลักษณ์ ศิวรักษ์

เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มกราคม
2566
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง เขียนถึงศาตราจารย์ดิเรก ชัยนาม เนื่องในวาระ 118 ปี ชาตกาล 18 มกราคม 2566 โดยกล่าวถึงชีวประวัติย่อและการทำงาน รวมไปถึงบทบาททางการเมืองเมื่อครั้งสงครามโลกครั้งที่ 2 และการดำเนินงานในกิจการเสรีไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
มกราคม
2566
กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึงชีวประวัติย่อของ "คุณหญิงจันทนี สันตะบุตร" สตรีผู้อุทิศตนเพื่องานสังคมสงเคราะห์ ตลอดจนบอกเล่าเรื่องราวการทำงาร ความรัก และครอบครัว ที่ได้หล่อหลอมให้สตรีผู้นี้เป็นบุคคลที่มีฉากและชีวิตโลดแล่นมากว่า 5 แผ่นดิน โดยตั้งมั่นอยู่บนพื้นฐานและอุดมการณ์เพื่อประโยชน์แก่สังคมอย่างสุดความสามารถ
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
ตุลาคม
2565
ราว 5 ปีก่อนเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2511 ที่ถูกวิจารณ์ว่ามีกระบวนการร่างฯ เพื่อรักษาอำนาจให้แก่รัฐบาลของ จอมพล ถนอม กิตติขจร เป็นหลัก
แนวคิด-ปรัชญา
22
สิงหาคม
2565
ช่วงตอบคำถามในงานเสวนา PRIDI Talks #17: 77 ปี วันสันติภาพไทย "ความคิดสันติภาพของปรีดี พนมยงค์ กับ สันติภาพของโลกในปัจจุบัน" มีคำถามจากผู้ชมทั้งช่องทางออนไลน์และในหอประชุม
18
สิงหาคม
2565
วันที่ 16 สิงหาคม 2565 ที่ผ่านมา ในวาระ 77 ปี วันสันติภาพไทย ในช่วงเช้า สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดพิธีวางช่อดอกไม้บริเวณลานปรีดี พนมยงค์ หน้าตึกโดม เพื่อเป็นรำลึกถึงคุณูปการของผู้เสียสละในขบวนการเสรีไทย ภายใต้การนำของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ในฐานะของหัวหน้าขบวนการฯ และผู้เสียชีวิตจากสงครามโลกครั้งที่ 2   
แนวคิด-ปรัชญา
8
กรกฎาคม
2565
“ข้าพเจ้าใคร่ที่จะกล่าวด้วยความรู้สึกอันแท้จริงอีกอย่างหนึ่งว่า พร้อมกับที่เราชื่นชมยินดีในรัฐธรรมนูญอันเปนที่รักของเรานี้ เราควรมีความรู้สึกขอบคุณ ‘คณะราษฎร’ ผู้พลีชีพเข้าทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองจนได้รัฐธรรมนูญอันนี้มาสมตามความประสงค์ ด้วย.” พุทธทาสภิกขุ
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
พฤษภาคม
2565
'ศิริ สันตะบุตร' ผู้ว่าราชการคนสุดท้ายที่มาจากการแต่งตั้ง ดำเนินชีวิตอยู่บนสายงานราชการด้วยการเป็นนักปกครองที่ซื่อสัตย์สุจริต ดังคำกล่าวของ คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์ ปลัดกรุงเทพมหานคร ณ ขณะนั้นว่า “ท่านเป็นคนอ่อนโยน…เป็นคนตรงเป็นไม้บรรทัด”
แนวคิด-ปรัชญา
14
ตุลาคม
2564
ความทรงจำดังกล่าวเป็นผลมาจากการจำกัดการรับรู้ข้อมูลข่าวสารในระบอบเผด็จการทหารซึ่งผูกขาดช่องทางการสื่อสารและปกครองประเทศด้วยการปิดกั้นเสรีภาพมาอย่างยาวนาน
บทสัมภาษณ์
8
กรกฎาคม
2564
“คณะราษฎร 2475” คือ ปรากฏการณ์ทางประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่สำคัญมากและเป็นหัวเลี้ยวหัวต่อของความเปลี่ยนแปลงในแง่ของสังคม ในแง่ของการเมือง ในแง่ของอะไรอีกหลายอย่าง รวมทั้งเศรษฐกิจ และเรื่องวัฒนธรรม”
5
เมษายน
2564
ในวันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 ที่ผ่านมา หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) ร่วมกับ สถาบันปรีดี พนมยงค์ จัดฉายมรดกภาพยนตร์เรื่อง “พระเจ้าช้างเผือก” เนื่องในวาระครบรอบ 80 ปี วันฉายภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือกวันแรก เมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2484    
Subscribe to สุลักษณ์ ศิวรักษ์