ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หลวงกาจสงคราม

แนวคิด-ปรัชญา
16
กุมภาพันธ์
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิเคราะห์สังคมไทยในปี 2493 ในกรณีที่หลวงกาจสงครามถูกเนรเทศจากพวกเดียวกันคือ คณะรัฐประหาร 2490 และยังทำให้นายปรีดี พนมยงค์ ต้องมลทินในกรณีสวรรคตแต่ประชาชนทำได้แค่หัวเราะกับการก่อรัฐประหารครั้งนี้
แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เสนอให้เห็นการไม่ชอบธรรมและคอร์รัปชันในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม กรณีไม่ปราบปรามการค้าฝิ่นสะท้อนว่าแม้จะมีการเลือกตั้งไม่มีความเป็นประชาธิปและประชาชนได้แต่เพียง “ชเง้อดู” ความอยุติธรรมที่เกิดขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
2
กุมภาพันธ์
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ กล่าวถึงเหตุการณ์ที่อธิบดีกรมโฆษณาการ ปี 2493 เรียกร้องจะตรวจร่างปาฐกถาของหม่อมเจ้าวิวัฒน์ไชย ไชยันตร์ ในงานของสมาคมนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เพื่อไม่ให้มีเรื่อง “การเมือง”
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
มกราคม
2568
แตงอ่อน จินดาวงศ์ เขียนถึงประวัติชีวิต และการต่อสู้ของครูครอง จันดาวงศ์ สามี และครอบครัว สะท้อนความอยุติธรรมโดยรัฐในยุคสงครามเย็นที่ปราบปรามขั้วความคิดที่เห็นต่างทางการเมืองว่าเป็นกบฏแบ่งแยกดินแดนและคอมมิวนิสต์
แนวคิด-ปรัชญา
29
ธันวาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เสนอเรื่องความลับดำมืดของคดีฝิ่นที่เกิดขึ้น ณ สถานีท่าแค จ. ลพบุรี ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม โดยสะท้อนให้เห็นอำนาจของผู้มีอิทธิพลต่อระบบราชการนำไปสู่ความล้มละลายทางศีลธรรมต่อชาติได้
บทบาท-ผลงาน
9
พฤษภาคม
2567
การสถาปนารัฐธรรมนูญฉบับประชาธิปไตยสมบูรณ์ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 เกิดขึ้นในรัฐบาลสมัยคณะราษฎร จากแนวคิดของนายปรีดี พนมยงค์ รัฐธรรมนูญฉบับ 2489 มีรูปแบบที่เป็นประชาธิปไตยสมบูรณ์ซึ่งมีหลักการสำคัญในรัฐธรรมนูญ ได้แก่ แยกข้าราชการประจำออกจากข้าราชการการเมือง ระบบสองสภาฯ คือสภาผู้แทนราษฎรกับพฤฒสภาต้องมาจากการเลือกตั้งของราษฎร
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กรกฎาคม
2566
นายพึ่ง ศรีจันทร์ อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎรสมัย พ.ศ. 2490 นับเป็นบุคคลในแบบอย่างของการวางตัวให้สมาชิกทุกพรรคเคารพยำเกรงในการทำหน้าที่
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
มิถุนายน
2566
ณ เวลาย่ำรุ่งของวันที่ 24 มิถุนายน 2475 "คณะราษฎร" ก่อการอภิวัฒน์ให้บังเกิดขึ้นในสังคมไทยนำพาสยามหลุดพ้นจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ รุดหน้าไปสู่ระบอบประชาธิปไตย พร้อมประกาศพันธกิจเพื่อบำบัดทุกข์ที่เกิดขึ้นจากมรดกเก่า พร้อมบำรุงสุขให้สังคมความเท่าเทียมเกิดขึ้นในสังคมสยาม
ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤษภาคม
2566
ฉากชีวิตนับจากการเนรเทศถึงนิวัติไทยทั้งผลงานสำคัญ และการลี้ภัยครั้งแรกตราบจนวาระสุดท้ายแห่งชีวิตของนายปรีดี พนมยงค์ จนถึงการนิวัติไทยในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
สิงหาคม
2565
บรรยากาศ ท่าทีและความรู้สึกของผู้คนในสังคมท่ามกลางบรรยากาศโดยรอบในวันที่สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มาเยือนสยามประเทศเป็นที่เรียบร้อย เริ่มจากการรุกล้ำอธิปไตยของชาติไทยโดยญี่ปุ่น เหตุการณ์ดังกล่าวนำไปสู่การก่อตั้ง "องค์การต่อต้านญี่ปุ่น" หรือ "ขบวนการเสรีไทย" ภายใต้การนำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' พร้อมด้วยภารกิจสำคัญ 2 ประการ เพื่อปลดปล่อยชาติไทยคืนสู่ความเป็นเอกราชอีกครั้ง
Subscribe to หลวงกาจสงคราม