ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์

บทสัมภาษณ์
13
ตุลาคม
2566
จุดเปลี่ยนสำคัญของกรมราชทัณฑ์ เกิดขึ้นหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 รัฐบาลคณะราษฎรได้ให้ความสำคัญกับการดูแลนักโทษมากขึ้น โดยนายปรีดี พนมยงค์ ได้นำเอาความรู้เกี่ยวกับอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยาสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้กับงานราชทัณฑ์
บทบาท-ผลงาน
29
กันยายน
2566
ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 หนึ่งปีได้เกิดการรัฐประหารครั้งแรกเป็นเหตุให้นายปรีดี พนมยงค์ต้องลี้ภัยทางการเมืองเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2476 โดยในปีเดียวกันนั้นวันที่ 29 กันยายน 2476 นายปรีดี พนมยงค์ก็ได้เดินทางหวนกลับสู่บ้านเกิดอีกครั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2566
ชวนพิจารณา 4 ประเด็น ได้แก่ อำนาจเก่า ผลประโยชน์ แรงสนับสนุน และการสืบต่อสายธารประชาธิปไตย ปัจจัยทั้งสี่สะท้อนชีวิตของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ นับตั้งแต่ก่อนการอภิวัฒน์จนส่งผ่านมาถึงปัจจุบัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
มิถุนายน
2566
ณ เวลาย่ำรุ่งของวันที่ 24 มิถุนายน 2475 "คณะราษฎร" ก่อการอภิวัฒน์ให้บังเกิดขึ้นในสังคมไทยนำพาสยามหลุดพ้นจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ รุดหน้าไปสู่ระบอบประชาธิปไตย พร้อมประกาศพันธกิจเพื่อบำบัดทุกข์ที่เกิดขึ้นจากมรดกเก่า พร้อมบำรุงสุขให้สังคมความเท่าเทียมเกิดขึ้นในสังคมสยาม
ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤษภาคม
2566
ฉากชีวิตนับจากการเนรเทศถึงนิวัติไทยทั้งผลงานสำคัญ และการลี้ภัยครั้งแรกตราบจนวาระสุดท้ายแห่งชีวิตของนายปรีดี พนมยงค์ จนถึงการนิวัติไทยในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
บทบาท-ผลงาน
7
พฤษภาคม
2566
ประมวลทรรศนะต่อเส้นทางชีวิตและคุณูปการของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านสายตาของ 'พระราชนันทมุนี' หรือ 'ท่านปัญญานันทภิกขุ' ซึ่งได้แสดงปาฐกถาธรรมไว้ ณ เรือนไทยหอประชุมภายในเขตอนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อช่วงบ่ายของวันแรกที่อัฐิธาตุของรัฐบุรุษอาวุโสกลับสู่มาตุภูมิ ในวันที่ 7 พฤษภาคม 2529
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
เมษายน
2566
ความเพลี่ยงพล้ำของฝรั่งเศสใน WWII เปิดลู่ทางให้รัฐบาลจอมพล ป. เรียกร้องต่อกรณี ร.ศ. 112 เมื่อสงครามจบลงชาวเวียดนามอพยพหนีการกว้างล้างของฝรั่งเศสเข้ามายังไทย รัฐบาลประชาธิปไตยภายใต้การนำของนายปรีดี พนมยงค์ จึงดำเนินนโยบายสนับสนุนขบวนกู้เอกราช แต่ก็ต้องหยุดชะงักลงด้วยการรัฐประหาร 2490
บทบาท-ผลงาน
14
เมษายน
2566
ย้อนรอยความเป็นมาของหมุดก่อกำเนิดรัฐธรรมนูญผ่านหลักฐานชิ้นใหม่ เพื่อทบทวนจุดเริ่มต้นของการริเริ่มให้สร้าง การออกแบบ และองค์กรที่เกี่ยวข้องในการจัดสร้าง ก่อนที่โลหะแผ่นนี้จะกลายเป็นที่จดจำในฐานะอนุสรณ์ทางการเมืองเพื่อระลึกถึงห้วงเวลาสำคัญแห่งการอภิวัฒน์ไปสู่ระบอบประชาธิปไตย
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
มีนาคม
2566
คำพิพากษาศาลฎีกาในคดีสังหารอดีต 4 รัฐมนตรี เนื่องในวาระ 74 ปีสังหารโหด ณ ทุ่งบางเขน ซึ่งบอกเล่าปากคำ คำให้การ รวมไปถึงลำดับเหตุการณ์ในการสังหารเหยื่อทั้ง 4 รายอย่างทารุณ เมื่อคดีเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม
บทบาท-ผลงาน
15
พฤศจิกายน
2565
ความพยายามของ 'นายปรีดี พนมยงค์' และ "คณะราษฎร" ว่าด้วยฐานคิดในการออกแบบการเลือกตั้งครั้งแรกของสยาม อีกทั้งอุปสรรคที่นายปรีดีต้องประสบด้วยเหตุ "ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจ" ครั้นเมื่อการเมืองกลับสู่สภาวะปกติและการเลือกตั้งได้บังเกิดในที่สุด ราษฎรสยามตื่นตัวและให้ความสำคัญต่อระบอบใหม่ ดังปรากฏบนหน้าหนังสือพิมพ์ "ประชาชาติ"
Subscribe to หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์