ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หลวงพิบูลสงคราม

เกร็ดประวัติศาสตร์
9
พฤศจิกายน
2564
ในที่สุด กลุ่มนายทหารนอกประจำการนำโดย ผิน ชุณหะวัณ กาจ กาจสงคราม เผ่า ศรียานนท์ สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ถนอม กิตติขจร ประภาส จารุเสถียร ก็ทำรัฐประหารเป็นผลสำเร็จ ยกเลิกรัฐธรรมนูญ 2489 ที่มความเป็นประชาธิปไตยอย่างมาก และประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใต้ตุ่ม
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
ตุลาคม
2564
เมื่อก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ ฐานะของพระบรมวงศานุวงศ์เป็นที่ยกย่องเทิดทูนอย่างสูงส่ง เนื่องจากท่านเหล่านั้นเป็นเลือดเนื้อเชื้อไขในราชตระกูลผู้ซึ่งเคยปกป้องแผ่นดินไทยมาในบางยุคบางสมัย บุญคุณอันนั้นจึงมีให้คนไทยสำนึกอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ท่านเหล่านั้นทรงเป็นอภิสิทธิ์ชนโดยกำเนิด หากทรงกระทำผิดกฎหมายอะไรขึ้น ก็ไม่ต้องขึ้นศาลธรรมดาแต่ทรงขึ้นศาลของกระทรวงวัง แม้ว่าจะมีความผิดอย่างฉกรรจ์ก็เพียงแต่กักบริเวณ และเอาโซ่ตรวนใส่พานวางไว้หน้าห้องเท่านั้นเอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
ตุลาคม
2564
อนุสาวรีย์คอนกรีตสูงประมาณ 4 เมตร ที่ตั้งอยู่บริเวณวงเวียนหลักสี่ หายไปอย่างไร้ร่องรอยเมื่อวันที่ 28 ธ.ค. 2561
แนวคิด-ปรัชญา
1
มิถุนายน
2564
จุดเริ่มต้นแห่งการก่อเกิดประชาธิปไตยนั้น ได้เริ่มก่อตัวขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ถูกส่งต่อมาเรื่อยๆ จนถึงรัชสมัยของรัชกาลที่ 7 โดยมีทั้งชนชั้นสูงอย่างเจ้าขุนมูลนาย และ ราษฎรไทย
แนวคิด-ปรัชญา
15
ตุลาคม
2563
ในปี 2516 ภายหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคมแล้ว นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความเพื่อถอดบทเรียนจากความผิดพลาดและล้มเหลวของคณะราษฎร และบางเรื่องในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่ตนเกี่ยวข้อง
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
สิงหาคม
2563
ในปี 2515 นายปรีดีฯ เคยอธิบายไว้ว่า ทำไมเพื่อนนักเรียนในฝรั่งเศส ทั้งที่เป็นผู้ร่วมก่อการและไม่ใช่ผู้ร่วมก่อการ จึงเรียกตนเองว่า "อาจารย์" เพื่อโต้แย้งคำอธิบายของนายควง อภัยวงศ์ เพื่อนร่วมก่อการอีกคนหนึ่งซึ่งได้เข้าร่วมคณะราษฎรก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครองไม่นานนัก
ศิลปะ-วัฒนธรรม
21
มิถุนายน
2563
ความเป็นไม้เบื่อไม้เมาระหว่างรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดากับหนังสือพิมพ์สิ้นสุดลง เมื่อพระยาพหลพลพยุหเสนาได้ทํารัฐประหารยึดอํานาจจากรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดา เมื่อ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 หนังสือพิมพ์ได้ให้ความสนับสนุนคณะรัฐประหารเป็นอย่างดี และแสดงความหวังเป็นอย่างมากว่า รัฐบาลชุดใหม่คงจะได้ตระหนักถึงสถานะและปัญหาของการดําเนินทุนหนังสือพิมพ์ ในฐานะสื่อมวลชนในสังคมประชาธิปไตยมากกว่ารัฐบาลชุดที่แล้ว
Subscribe to หลวงพิบูลสงคราม