ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หลวงอดุลเดชจรัส

เกร็ดประวัติศาสตร์
8
มิถุนายน
2566
ณ เวลาย่ำรุ่งของวันที่ 24 มิถุนายน 2475 "คณะราษฎร" ก่อการอภิวัฒน์ให้บังเกิดขึ้นในสังคมไทยนำพาสยามหลุดพ้นจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ รุดหน้าไปสู่ระบอบประชาธิปไตย พร้อมประกาศพันธกิจเพื่อบำบัดทุกข์ที่เกิดขึ้นจากมรดกเก่า พร้อมบำรุงสุขให้สังคมความเท่าเทียมเกิดขึ้นในสังคมสยาม
บทบาท-ผลงาน
1
พฤษภาคม
2565
ความคิดเรื่องกรรมกรของ ‘ปรีดี พนมยงค์’ และนโยบายต่อกรรมกรของคณะราษฎร ไม่ค่อยมีการกล่าวถึงกันมากนัก เช่นน้อยคนที่จะทราบว่า ปรีดีเป็นผู้สนับสนุนให้มีวันกรรมกร ขึ้น ครั้งหนึ่งยังเคยมอบหมายให้ หม่อมเจ้าสกลวรรณกร วรวรรณ ไปแสดงสุนทรพจน์เนื่องในวันกรรมกร[1]
บทบาท-ผลงาน
2
ธันวาคม
2564
ข้าพเจ้าได้ช่วยนายปรีดีรับฟังวิทยุต่างประเทศเพื่อทราบความเคลื่อนไหวของสัมพันธมิตร ข่าวการสู้รบในสมรภูมิต่างๆ ทั่วโลก และบางครั้งข้าพเจ้าก็ช่วยเขียนรหัส ด้วยลายมือโดยไม่ใช้พิมพ์ดีด
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
พฤศจิกายน
2564
คำให้การของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ประธานผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
พฤศจิกายน
2564
จดหมายของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึง นายปรีดี พนมยงค์, ใน, คำให้การต่อศาลอาชญากรสงคราม เอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์
บทบาท-ผลงาน
5
สิงหาคม
2564
เบื้องหลังการก่อตั้งขบวนการเสรีไทย: คำให้การของนายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะพยาน พ.ท. พระสารสาสน์พลขันธ์ จำเลยคดีอาชญากรสงคราม
บทสัมภาษณ์
29
มีนาคม
2564
เย็นวันนี้ ทีมบรรณาธิการของเรามีนัดสัมภาษณ์กับ ลุงแมว พันตรี พุทธินาถ พหลพลพยุหเสนาบุตรคนที่ 4 ของพลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ชาติไทย ผู้ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 2 ของประเทศไทย อีกทั้งยังเป็นหัวหน้าคณะราษฎร หนึ่งในสี่ทหารเสือผู้นำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475  เมื่อถึงเวลานัดหมาย เราพร้อมกันที่บ้านทาวน์เฮ้าส์ หลังหนึ่งซึ่งอยู่ห่างออกจากชานเมืองไปไม่ไกลนัก เจ้าของบ้านดวงหน้ายิ้มแย้มสดใสยืนรอต้อนรับพวกเราอยู่ที่หน้าประตูบ้านด้วยความเป็นกันเอง ก่อนเชื้อเชิญกันเข้ามานั่งที่โต๊ะรับรองภายในบ้าน ลุงแมวตระเตรียมทั้งขนมและน้ำให้พวกเราอย่างเต็มที่
ชีวิต-ครอบครัว
12
มกราคม
2564
ความทรงจำของครูฉลบชลัยย์ พลางกูร ซึ่งกลายมาเป็นคนใน 'ครอบครัวเดียวกัน' กับท่านผู้หญิงพูนศุข หลังการเสียชีวิตของ 'จำกัด' สามีของเธอในภารกิจเสรีไทย
บทบาท-ผลงาน
8
พฤศจิกายน
2563
รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 ได้ยุติบทบาททางการเมืองในประเทศไทยของนายปรีดี พนมยงค์ โดยสิ้นเชิง และตามมาด้วยความพยายามของฝ่ายที่เป็นปรปักษ์ในทุกวิถีทางที่จะทำลายล้างท่านรัฐบุรุษอาวุโสอย่างที่ไม่เคยมีบุคคลใดเคยประสบมาแต่ก่อน
ชีวิต-ครอบครัว
7
พฤศจิกายน
2563
“อย่ายิง! ที่นี่มีแต่ผู้หญิงกับเด็ก” คือ ประโยคที่ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ตะโกนร้องสวนเสียงปืนกลจากรถถังที่มายิงทำเนียบท่าช้าง กลางดึกวันที่ 7 ต่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490
Subscribe to หลวงอดุลเดชจรัส