ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หลัก 6 ประการ

บทบาท-ผลงาน
7
สิงหาคม
2563
ในวาระครบรอบ 100 ปีแห่งการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ผู้ทรงได้รับการยกย่องเป็น "บิดาและองค์ปฐมาจารย์ของนักนิติศาสตร์แห่งประเทศไทย" จึงขอร่วมรำลึกถึงเสด็จในกรมพระองค์นั้น ผ่านบทความ "การยกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขต: จากกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ถึงนายปรีดี พนมยงค์"
แนวคิด-ปรัชญา
19
กรกฎาคม
2563
“สังคมก็จะดํารงอยู่ได้ก็ด้วยมวลราษฎร ดังนั้นเอง ระบบสังคมที่จะทําให้มวลราษฎรมีพลังผลักดันให้สังคมก้าวหน้า ก็คือ ระบบประชาธิปไตย… คือ หมายถึงระบบที่ประชาชนหรือมวลราษฎรมีอธิปไตย...” -- ปรีดี พนมยงค์
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
กรกฎาคม
2563
หากโลกนี้มีธรรมเป็นอำนาจ ประชาชาติช่วงโชติปราโมทย์สมัย บรรสานสุขยุคมหาประชาธิปไตย ประชาไทยคงเป็นไททั่วหน้ากัน . "นาม ปรีดี พนมยงค์ ธิรงสถิตย์ แบบฉบับผู้อุทิศชีวิตมั่น สู้เพื่อชาติเอกราชเทิดคุณธรรม์ เป็นมิ่งขวัญมวลมหาประชาชน
บทบาท-ผลงาน
26
มิถุนายน
2563
ม.ธ.ก. ถือได้ว่าเป็นผลพวงหรือ “คู่แฝด” ของการปฏิวัติสยาม 24 มิถุนายน 2475/ 1932 อย่างไม่ต้องสงสัย หากไม่มี 24 มิถุนายน 2475/1932 ก็อาจจะไม่มี 27 มิถุนายน 2477/1934 (วันสถาปนา ม.ธ.ก.)
บทบาท-ผลงาน
22
มิถุนายน
2563
ในบทความนี้จะพาทุกท่านมาสู่เนื้อหาของเค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ โดยจะเริ่มจากสภาพเศรษฐกิจและสังคมในช่วงปี พ.ศ. 2472-2475 เพื่อทำความเข้าใจบริบทในการเขียนเค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี
บทสัมภาษณ์
17
มิถุนายน
2563
โคทม อารียา เป็นผู้แทนสหภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน สัมภาษณ์นายปรีดี.
บทบาท-ผลงาน
22
พฤษภาคม
2563
การเปลี่ยนแปลงการปกครองยังไม่ทันผ่านพ้นข้ามปี อาจารย์ปรีดีก็สามารถก่อตั้ง “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง” ขึ้นเมื่อต้นปี พ.ศ. 2476 ในฐานะผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย อาจารย์ปรีดีได้แถลงถึงเจตนารมณ์ของการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้เอาไว้ว่า เพื่อจะได้ช่วยบำบัดความกระหายการศึกษาของราษฎรโดยทั่วไป
แนวคิด-ปรัชญา
11
พฤษภาคม
2563
การรำลึกครบรอบ 120 ปี ชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้รักชาติ รักประชาธิปไตยและสันติธรรมอย่างแท้จริง ถ้าจะให้เป็นไปอย่างมีความหมายและเกิดประโยชน์ต่อสังคมปัจจุบันแล้ว เราควรจะกลับไปศึกษาจากประสบการณ์และความคิดทางการเมืองของเขา แล้วถอดบทเรียนเพื่อให้สังคมเดินไปข้างหน้า ไม่ก้าวพลาดซ้ำวนเวียน หรือเดินถอยหลังเข้าคลอง 
แนวคิด-ปรัชญา
7
พฤษภาคม
2563
การอ่าน "เค้าโครงการเศรษฐกิจ” ที่หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (อาจารย์ปรีดี พนมยงค์) เขียนขึ้นในปี พ.ศ. 2476 ต้องทำความเข้าใจบริบทของประเทศไทยในช่วงก่อนปี 2476 ที่มีปัญหาเศรษฐกิจ ชาวนาที่เป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ มีความเป็นอยู่ลำบาก ไม่สามารถเข้าถึงที่ดิน เงินทุน เทคโนโลยี มีปัญหาชลประทานและถูกเก็บภาษีทีไม่เป็นธรรม ประกอบกับการค้าอยู่ในมือของต่างชาติ อาจารย์ปรีดีจึงเห็นว่าการที่จะได้มาซึ่งประชาธิปไตยต้องเริ่มจากการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและความยากจนของชาวชนบท  และในสมัยนั้นราษฎรยังคงอ่อนแอ แนวทางเดียวที่จะบำรุงความสุขสมบูรณ์ให้ราษฎรคือรัฐบาลจะต้องมีบทบาทในการจัดการเศรษฐกิจ
Subscribe to หลัก 6 ประการ