หลัก 6 ประการ
บทความ • บทสัมภาษณ์
20
พฤศจิกายน
2563
ในปี พ.ศ. 2522 นายแอนโทนี พอล ผู้สื่อข่าวนิตยสาร เอเชียวีค ประจำกรุงปารีส ได้สัมภาษณ์นายปรีดี พนมยงค์ ณ บ้านอองโตนี ชานกรุงปารีส
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
13
พฤศจิกายน
2563
จุดเริ่มต้นของการก่อสร้างเริ่มตั้งแต่เมื่อใด ที่ดินเดิมเป็นของใคร เรือนไทยสองหลังในอนุสรณ์สถานมาจากไหน ร่วมหาคำตอบได้จากบทความของ 'ดุษฎี พนมยงค์'
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
4
พฤศจิกายน
2563
การกลับมาอีกครั้งของละคอน "คือผู้อภิวัฒน์" ในช่วงเวลาที่ความสนใจต่อประวัติศาสตร์การเมือง ในช่วงเวลาเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 กำลังอยู่ในกระแสของสังคม ท่ามกลางช่วงเวลาที่คุณค่าซึ่งผูกพันกับอุดมการณ์แบบอำนาจนิยมเริ่มถูกตั้งคำถามในทุกปริมณฑลของชีวิต
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
27
ตุลาคม
2563
ในวาระ 110 ปีแห่งการสวรรคตของรัชกาลที่ 5 ผศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ได้ถอดบทเรียนการปฏิรูปประเทศให้ทันสมัย จากยุคของรัชกาลที่ 5 มาจนถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
บทความ • บทสัมภาษณ์
22
ตุลาคม
2563
ในวัย 80 ปี (พ.ศ. 2523) นายปรีดี พนมยงค์ ได้ให้สัมภาษณ์กองบรรณาธิการ นสพ. ตะวันใหม่ ต่อคำถามที่ว่า “จุดอ่อนของการอภิวัฒน์ประชาธิปไตยเมื่อปี 2475 คืออะไร
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
20
ตุลาคม
2563
ในปี 2517 นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความอธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ตั้งแต่ความหมาย การมีรัฐธรรมนูญกับการมีระบอบประชาธิปไตย และประเภทของรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรกับธรรมเนียมประเพณีทางรัฐธรรมนูญ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
17
กันยายน
2563
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณภา ติระสังขะ ได้ประมวลแนวคิดประชาธิปไตยสมบูรณ์ของนายปรีดีไว้แล้ว ในบทความนี้
บทความ • บทบาท-ผลงาน
15
กันยายน
2563
ในเดือนสิงหาคม 2527 #สายฟ้า หรือ #นายผี อัศนี พลจันทร ได้เขียนบทความรำลึกการจากไปของนายปรีดี พนมยงค์ ซึ่งนับได้ว่าเป็นงานเขียนชิ้นสุดท้ายของเขา สะท้อนความทรงจำของธรรมศาสตร์บัณฑิตผู้นี้ที่มีต่อผู้ประศาสน์การได้เป็นอย่างดี
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
6
กันยายน
2563
ความคิดทางเศรษฐกิจของท่านปรีดีนั้นมีลักษณะล้ำสมัยเมื่อเปรียบเทียบกับบรรดาผู้คนในยุคของท่าน
ความคิดของท่านหลายประการจึงได้รับปฏิบัติในภายหลัง และความคิดบางประการ ได้รับการต่อต้านในการนําเสนอในช่วงแรก
สิ่งที่สะท้อนความคิดทางเศรษฐกิจของรัฐบุรุษอาวุโสได้อย่างเป็นระบบมากที่สุด คือ เค้าโครงเศรษฐกิจ หรือที่เรารู้จักกันดีในนาม สมุดปกเหลืองของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม นั่นเอง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to หลัก 6 ประการ
9
สิงหาคม
2563
หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475 นายปรีดีในฐานะผู้นําคนหนึ่งของคณะราษฎรได้พยายามผลักดันให้หลัก 6 ประการของคณะราษฎรเป็นจริง มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2477 ตามเจตนารมณ์หนึ่งในหลัก 6 ประการ ดังกล่าว คือ การที่จะให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร