ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หวอเหงียนย้าป

เกร็ดประวัติศาสตร์
10
มิถุนายน
2566
บทสรุปความปรารถนาและความใฝ่ฝันของประธานโฮจิมินห์ที่บรรลุผลในที่สุด หลังชัยชนะของ "แนวร่วมปลดปล่อยเวียดนามใต้" หรือ "เวียดกง" มีชัยเหนือสหรัฐอเมริกา เรื่องราวการปลดปล่อยเวียดนามสู่อิสรภาพซึ่งถูกครอบงำนับตั้งแต่กลางทศวรรษ 1950
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มิถุนายน
2566
เถ้าถ่านแห่งสงครามที่ยังไม่ทันมอดดับหลังจากความปราชัยของฝรั่งเศส และแล้วไฟสงครามก็ลุกโชนอีกครั้งในแผ่นดิน หลังจากสหรัฐอเมริกาเปิดฉากโจมตีเวียดนามเพื่อสกัดกั้นการเติบโตของลัทธิคอมมิวนิสต์ สงครามระลอกดังกล่าวอุบัติขึ้นในช่วงบั้นปลายชีวิตของโฮจิมินห์
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤษภาคม
2566
โฮจิมินห์ เชิญ นายปรีดี พนมยงค์ พร้อมด้วยคณะติดตามเดินทางไปยังเวียดนาม การเยี่ยมเยือนในครั้งนั้นเป็นไปอย่างด้วยความชื่นมื่นระหว่างสองผู้อภิวัฒน์ ถึงแม้คราวนี้จะเป็นครั้งแรกที่บุรุษทั้งสองได้พบปะกัน ทว่ากลับอบอวลไปด้วยบทสนทนาที่ลื่นไหลและถูกคอ ส่งผลความสัมพันธ์อันดีของทั้งสองประเทศดำเนินมาจนกระทั่งปัจจุบัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
พฤษภาคม
2566
สมรภูมิเดียนเบียนฟูยุทธภูมิสำคัญที่ชี้ชะตากรรมของชาติเวียดนาม กองกำลังเวียดมินห์เดินหมากอย่างมียุทธศาสตร์และกลยุทธ์ พร้อมกับได้รอบการสนับสนุนจากประเทศอื่นๆ รวมไปถึงชาวพื้นเมืองในเขตพื้นที่ดังกล่าว จนสามารถปักธงแห่งชัยชนะได้สำเร็จ กระทั่งนำไปสู่การประชุมเจนีวา ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพื่อหาข้อสรุปยุติความขัดแย้งและฟื้นคืนสันติภาพให้แก่ประเทศในอินโดจีน
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
เมษายน
2566
สถานการณ์ในปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 อันเป็นช่วงเวลาที่อิทธิพลของฝ่ายอักษะเริ่มเพลี่ยงพล้ำต่อฝ่ายสัมพันธมิตร การทิ้งระเบิดที่ฮิโรชิมาและนางาซากิกรุยทางนำไปสู่การอภิวัฒน์และการประกาศเอกราชของเวียดนามในที่สุด
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
เมษายน
2566
การเผชิญวิบากกรรมทางการเมืองอีกครั้งจากการถูกจับกุมโดยพรรคก๊กมินตั๋ง ทว่าขณะที่ถูกจองจำ โฮจิมินห์ก็ยังคงมีความหวังอยู่เสมอเพื่อภารกิจที่ตั้งเป้าหมายไว้ ทันทีที่เป็นอิสระ โฮจิมินห์จึงเริ่มบำรุงสุขภาพดูแลร่างกายที่ทรุดโทรม จากนั้นภารกิจกู้เอกราชก็ได้เปิดฉากขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มีนาคม
2566
เรื่องราวการเดินทางมุ่งหน้ากลับสู่บ้านเกิดเมืองนอนของโฮจิมินห์ พร้อมทั้งสถานการณ์ที่ต้องเผชิญหน้าทั้งเจ้าอาณานิคมเดิมคือฝรั่งเศส และผู้รุกรานใหม่อย่างญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งนำไปสู่การจัดตั้งแนวร่วมพันธมิตรเพื่อเอกราชของเวียดนาม หรือ "เวียดมินห์"
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
ธันวาคม
2565
(1) 12 มีนาคม 1954   “จะไม่มีปืนใหญ่ของเวียดมินห์กระบอกใดยิงได้เกินกว่าสามนัด โดยไม่ถูกทำลายด้วยปืนใหญ่ของเรา” Charles Piroth ผู้บังคับการหน่วยทหารปืนใหญ่ ของฝรั่งเศสที่เดียนเบียนฟู
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
ธันวาคม
2565
'ทวีป วรดิลก' เขียนถึง ชื่อเสียงของ 'หวอเหงียนย้าป' ที่ขจรไปไกลสืบเนื่องจากการต่อต้านลัทธิล่าอาณานิคมฝรั่งเศสและอเมริกาได้จนสำเร็จ อีกทั้งเรื่องราวความสัมพันธ์ระหว่าง 'นายปรีดี พนมยงค์' และ 'โฮจิมินห์' ที่นำพาให้ผู้เขียนและ 'ศุขปรีดา พนมยงค์' พร้อมด้วย "คณะมิตรภาพ" ได้เดินทางเข้าเยี่ยมเยียนหวอเหงียนย้าป ณ ที่พำนัก
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
พฤศจิกายน
2565
นายพลนามว่า 'หวอเหงียนย้าป' จะยังคงเป็นชื่อที่อยู่คู่แผ่นดินเวียดนามและเคียงข้างนาม 'โฮจิมินห์' ตลอดกาล มิใช่ด้วยเหตุผลยศถาอันยิ่งใหญ่ แต่เพราะคุณูปการที่นักอภิวัฒน์ผู้นี้ได้เคยกระทำไว้ให้แก่ชาติเมื่อครั้งยังมีชีวิตอยู่ได้กลายเป็นอนุสรณ์ให้ชาวเวียดนามและโลกได้ระลึกถึงตราบนานเท่านาน สมดังเป็น "ทหารอาวุโสผู้เป็นอมตะนิรันดร์กาล"
Subscribe to หวอเหงียนย้าป