ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

อดุล อดุลเดชจรัส

เกร็ดประวัติศาสตร์
21
สิงหาคม
2567
ญี่ปุ่นละเมิดข้อตกลง ข้อ 2. ที่ว่า “ญี่ปุ่นขอเพียงส่งกองทัพผ่านประเทศไทยเท่านั้น โดยจะพักอยู่ที่กรุงเทพฯ” คือ ฝ่ายกองทัพญี่ปุ่นได้พักอยู่ในกรุงเทพฯ และควบคุมจุดยุทธศาสตร์ไว้หลายแห่ง และนายปรีดี พนมยงค์ได้ถูกผลักให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
สิงหาคม
2567
ภายหลังสงครามอินโดจีน-ฝรั่งเศส สิ้นสุดลงทางรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้รับความนิยมและมีผู้สนับสนุนเป็นคนสนิท หากนายปรีดี พนมยงค์ ชี้ว่า รัฐบาลของจอมพล ป. ออกห่างจากแนวทางสันติวิธี
บทบาท-ผลงาน
7
สิงหาคม
2566
การจัดตั้ง "องค์การต่อต้านญี่ปุ่น” ได้เกิดขึ้น โดยมีนายปรีดี พนมยงค์ เป็นหัวหน้า ร่วมดำเนินการกับมิตรสหายเพื่อร่วมมือกับทางฝ่ายสัมพันธมิตร (อังกฤษ สหรัฐ จีน ฯลฯ) และเพื่อให้ฝ่ายสัมพันธมิตรรับรองว่าประเทศไทยจะไม่ตกเป็นประเทศผู้แพ้สงคราม และการผ่อนหนักเป็นเบาสำหรับสถานการณ์ภายหลังสงคราม
แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤศจิกายน
2565
นอกจากรัฐประหาร 2490 จะเป็นจุดเริ่มต้นบทบาททางการเมืองของกองทัพแล้วนั้น เหตุดังกล่าวยังได้รื้อฟื้นองคาพยพในระบอบเก่าให้หวนคืนสู่เวทีการเมืองอีกครั้ง ซึ่งแม้จะเคยถูกยกเลิกไปครั้นเมื่อเข้าสู่ระบอบใหม่ในสมัยคณะราษฎร แต่ทว่าภายหลังการรัฐประหารในครั้งนี้องค์กรดังกล่าวได้ถูกนำกลับมาผ่านรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว 2490 หรือ "รัฐธรรมนูญใต้ตุ่มแดง" และอย่างเป็นทางการในรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2492
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤศจิกายน
2565
พื้นที่จังหวัดตากได้ปรากฏร่องรอยทางประวัติศาสตร์ในการดำเนินงานของขบวนการเสรีไทย ด้วยเหตุฉะนี้จึงนำไปสู่ความพยายามในการสร้างอนุสรณ์แห่งความทรงจำ ได้แก่ "ถนนเสรีไทย" ขึ้น ด้วยความร่วมมือจากหลายภาคส่วนเพื่อเป็นเกียรติแด่เหล่าวีรชนและผู้กล้าทั้งหลายที้มีส่วนในภารกิจกู้ชาติในครานั้น
ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤศจิกายน
2565
ความจริงเรื่องรัฐประหารล้มรัฐบาลนี้ เกิดเป็นรูปเป็นร่างหลังจากพรรคประชาธิปัตย์เปิดอภิปรายทั่วไป ไม่ไว้วางใจรัฐบาลธำรงนาวาสวัสดิ์มาตั้งแต่ปลายพฤษภาคม 2490
บทบาท-ผลงาน
11
สิงหาคม
2565
ผู้เขียนนำเสนอเรื่องราวการเคลื่อนไหวของภารกิจสำคัญในประวัติศาสตร์ คือ "ขบวนการเสรีไทย" ภายใต้การนำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านหลักฐานร่วมสมัยทางประวัติศาสตร์ คือ บันทึกโมฆสงคราม อันเป็นเอกสารที่ช่วยขยายเพดานความรู้เกี่ยวกับบริบททางการเมืองของโลกและไทยท่ามกลางไฟสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาท-ผลงาน
5
สิงหาคม
2565
ภายหลังที่ชาติไทยถูกรุกล้ำอธิปไตยโดยจักรวรรดิญี่ปุ่น หนึ่งในข้อตกลงที่เกิดขึ้นระหว่างชาติผู้รุกรานและรัฐบาลในขณะนั้น คือการใช้พื้นที่ของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองให้เป็นพื้นที่สำหรับกักกันพลเมืองจากประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กรกฎาคม
2565
ปฏิกิริยาของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร ภายใต้บริบทเมื่อจักรวรรดิญี่ปุ่นได้ปักธงบนผืนแผ่นดินไทย ผ่านเอกสารทางประวัติศาสตร์ชิ้นสำคัญ ได้แก่ "บันทึกโทรเลขลับจากอังกฤษ" สาส์นสำคัญจาก 'วินสตัน เชอร์ชิลล์' นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรในขณะนั้น ด้วยการตอบคำถามและวิเคราะห์ โดยนายปรีดี พนมยงค์ ณ ที่ประชุมสามัคคีสมาคม เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2518
บทบาท-ผลงาน
25
กรกฎาคม
2565
ปรีดี พนมยงค์ ได้ถ่ายทอดเหตุการณ์ระหว่างตอนค่ำ 7 ธันวาคม ถึงตอนเช้า 8 ธันวาคม 2484 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ผ่านบันทึกการประชุม ครม. ครั้งสำคัญ
Subscribe to อดุล อดุลเดชจรัส