อภิวัฒน์สยาม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มีนาคม
2567
การก่อตั้งคณะราษฎรที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองในปีพ.ศ. 2475 เริ่มต้นจากการรวมตัวของเหล่านักเรียนนอกที่มีแนวคิดที่ต้องการพัฒนาประเทศให้นำไปสู่ระบอบประชาธิปไตย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
28
เมษายน
2566
แนวทางการปฏิรูปทางเศรษฐกิจและนโยบายการคลัง อันนำไปสู่ความเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ เมื่อครั้ง 'นายปรีดี พนมยงค์' รั้งตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง พร้อมกับความเป็นมาและความสัมพันธ์ระหว่างระบบไพร่และกลไกทางภาษี อันเป็นเครื่องมือชิ้นสำคัญทางสังคมในระบอบศักดินา
บทความ • บทบาท-ผลงาน
27
เมษายน
2566
ผลการดำเนินงานตามนโยบายเศรษฐกิจที่ได้จากความพยายามของคณะผู้ก่อการอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อการปรับปรุงแก้ไขความป่วยไข้ทางเศรษฐกิจที่บ่อนเซาะชีวิตของราษฎรสยาม ผ่านการจัดทำพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากร พุทธศักราช 2481
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
26
เมษายน
2566
ผลกระทบภายหลังจากการทำสนธิสัญญาเบาว์ริงที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจของสังคมสยาม และการกำหนดประเภทของภาษี รวมถึงผลกระทบของภาษีที่เกิดขึ้นกับสังคม และความพยายามของคณะราษฎรเพื่อสร้างความเป็นธรรมในระบอบภาษีของสยาม
บทความ • บทบาท-ผลงาน
20
มีนาคม
2566
อ่านความคิดด้านเศรษฐกิจของ "นายปรีดี พนมยงค์" ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์และอัตชีวประวัติ ได้แก่ คำชี้แจงเค้าโครงการเศรษฐกิจ, รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร และรายงานการประชุมกรรมานุการพิจารณาเค้าโครงการเศรษฐกิจ เพื่อทำความเข้าใจเค้าโครงการเศรษฐกิจ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
5
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงเรื่องราวระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อคราวรั้งตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กับการร้องเรียนและขอความช่วยเหลือโดยกลุ่มแขกเจ้าเซ็น กรณีปัญหาความกังวลเกี่ยวกับศาสนวัตถุพระปั้นหย่า ซึ่งมีทีท่าว่าจะถูกปลอมแปลง จนอาจส่งผลต่อความเลื่อมใสของศาสนิกชน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
กรกฎาคม
2565
นับแต่ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้เกิดกระแสความตื่นตัวของหลากหลายกลุ่มคนที่แสดงความนิยมยินดีและส่งเสริมสนับสนุนต่อระบอบประชาธิปไตย มุ่งมั่นเทิดทูนรัฐธรรมนูญ รวมถึงศรัทธาในหลักการของ คณะราษฎร
บทความ • บทบาท-ผลงาน
5
กรกฎาคม
2565
ข้าพเจ้ารู้จักปราโมทย์ฯ ตั้งแต่ก่อน พ.ศ. 2475 ขณะที่ปราโมทย์ฯ เป็นนักเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรมซึ่งข้าพเจ้าเป็นผู้สอนคนหนึ่งแห่งโรงเรียนนั้น
บทความ • บทบาท-ผลงาน
10
มิถุนายน
2565
เมื่อมีอายุ 11 ปีในพุทธศักราช 2454 ข้าพเจ้าสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันและน่าแปลกใจอย่างยิ่งในวัฒนธรรมของชาวจีนโพ้นทะเลและในหมู่ลูกหลานของพวกเขา ซึ่งมีอยู่ราวร้อยละ 25 ของราษฎรทั้งหมดในประเทศสยาม กล่าวคือ ผู้ชายแทบทุกคนได้ตัดผมหางเปียของเขาออก ทั้งๆ ที่เป็นทรงผมที่พวกเขาไว้กันมานานหลายศตวรรษแล้ว พวกเขาอธิบายสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่นี้ให้ราษฎรชาวสยามฟังว่า ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์แบบโบราณซึ่งบังคับให้พวกเขาไว้หางเปียอันน่าอับอายเช่นนี้ได้ถูกโค่นล้มแล้ว ด้วยการอภิวัฒน์ของฝ่ายสาธารณรัฐนำโดย ดร.ซุนยัดเซ็น ซึ่งในเวลานั้นได้เรียกร้องให้ชาวจีนทุกคนไว้ผมสั้นเช่นชาวยุโรป (ในสมัยนั้น)
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to อภิวัฒน์สยาม
11
กรกฎาคม
2564
อาจก่อความแปลกใจให้แก่คุณผู้อ่านไม่น้อยทีเดียวว่า “พระยาพหลพลพยุหเสนา” (พจน์ พหลโยธิน) ผู้นำคณะราษฎรสายทหารที่ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475