อภิวัฒน์สยาม 2475
บทความ • บทบาท-ผลงาน
5
มิถุนายน
2567
ชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยประยูร ภมรมนตรี เป็นหนังสือที่ได้รับรางวัลดีเด่นจากรัฐบาลไทยแต่นายปรีดี พนมยงค์ อ่านแล้วพบว่ามีความคลาดเคลื่อนหลายประการจึงฟ้องร้องคดีความเพื่อยืนยันสัจจะทางประวัติศาสตร์และบันทึกประกอบคำฟ้องฉบับนี้ชี้ให้เห็นว่ารายละเอียดทางประวัติศาสตร์ไม่ว่าจะจุดใหญ่และจุดเล็กล้วนมีความสำคัญ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
1
มิถุนายน
2567
พล.ท.ประยูร ภมรมนตรี เขียนในหนังสือว่าการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 เกิดขึ้นได้เพราะตนเป็นผู้สำคัญ ในขณะที่ปรีดี พนมยงค์โต้แย้งว่าเป็นผลจากความร่วมมือของคณะราษฎรและประชาชน และพล.ท.ประยูรดูหมิ่นเพื่อนร่วมคณะราษฎรคนอื่นๆ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
3
พฤษภาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เป็นนักกฎหมายและนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ศึกษาที่ฝรั่งเศสและริเริ่ม “สามัคยานุเคราะห์สมาคม” ก่อนจะเป็นผู้นำคนสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศไทยสู่ระบอบประชาธิปไตย
ข่าวสาร
31
มีนาคม
2567
วันที่ 23 มีนาคม 2567 ที่ผ่านมา รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ได้ให้สัมภาษณ์รายการย้อนอดีตสู่อนาคต FM96.5 ประเด็นต่อเนื่องเกี่ยวกับการชี้แจงข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในช่วงเหตุการณ์ อภิวัฒน์สยาม 2475 จากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ข่าวสาร • บทสัมภาษณ์
21
มีนาคม
2567
16 มีนาคม 2567 ที่ผ่านมา รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ได้ให้สัมภาษณ์รายการย้อนอดีตสู่อนาคต FM96.5 ประเด็นเกี่ยวกับการชี้แจงข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในช่วงเหตุการณ์ อภิวัฒน์สยาม 2475 ที่มีการพูดถึงอยู่ ณ ขณะนี้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤศจิกายน
2566
นำเสนอถึงปัญหาเศรษฐกิจไทยภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 จากบทสัมภาษณ์ศาสตราภิชาน แล ได้กล่าวไว้ 3 เรื่องสำคัญ พร้อมกับผูกประเด็นเหล่านั้นกับแนวคิดและข้อเสนอของ ผศ.ดร. ธร ปิติดล จากงานวิจัยชื่อ “แนวคิดและอุดมการณ์กับพัฒนาการระบบสวัสดิการไทย”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
10
พฤศจิกายน
2566
เรื่องราวอัตชีวประวัติของท่านเมื่อครั้นท่านยังเยาว์วัย บุคลิก นิสัย และวีรกรรมเมื่อสมัยเป็นนักเรียนอังกฤษ ก่อนที่ท่านจะรับการชักชวนเป็นสมาชิกคณะราษฎร ร่วมปฏิบัติภารกิจกู้ชาติในฐานะสมาชิกเสรีไทย และกลายเป็นนายกรัฐมนตรีลำดับที่ 5 แม้จะเป็นเพียง 17 วัน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
21
ตุลาคม
2566
ดร.ตั้ว มองว่าวิทยาศาสตร์เป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจที่จะเป็นรากฐานสร้างความมั่นคงถาวรให้กับประเทศชาติ ไม่ว่าจะในด้านกสิกรรม พานิชยกรรม อุตสาหกรรม รวมไปถึงในด้านการขนส่งที่ล้วนจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนและทำให้วิทยาศาสตร์กลายเป็นหัวใจสำคัญของรากฐานในการศึกษา
บทความ • บทบาท-ผลงาน
19
เมษายน
2566
ย้อนรอยฉากหลังทางประวัติศาสตร์และสาระสำคัญของ พ.ร.บ.ว่าด้วยการเลือกตั้งฯ ฉบับแรก ตลอดจนข้อวิจารณ์ของนายปรีดี โดยกล่าวถึงคำชี้แจงของที่มา ตั้งคำถาม และข้อสังเกตถึงการแก้ไข พ.ร.บ.ว่าด้วยการเลือกตั้งฯ พ.ศ. 2475 ต่อพระยามโนปกรณ์ฯ พร้อมด้วยถ้อยแถลง 18 ข้อ ซึ่งสะท้อนถึงการต่อสู้ในระบบรัฐสภาและยืนยันในหลักการระบอบประชาธิปไตยของนายปรีดี
บทความ
Subscribe to อภิวัฒน์สยาม 2475
19
มกราคม
2566
ช่วงตอบคำถามของงานเสวนา PRIDI Talks #19: 111 ปี ชาตกาล ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ "สิทธิมนุษยชนกับความเท่าเทียมทางเพศในรัฐธรรมนูญไทย" โดยเปิดให้วิทยากรได้ร่วมแสดงความคิดเห็นพร้อมเสนอทางออกกับโจทย์ใหญ่ในประเด็น "ทำอย่างไรให้เกิดร่างรัฐธรรมนูญที่รับรองสิทธิเท่าเทียมทางเพศ" พร้อมทั้งคำถามจากผู้ชมทั้งช่องทางออนไลน์และในห้องประชุม