ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

อัครพงษ์ ค่ำคูณ

แนวคิด-ปรัชญา
19
มกราคม
2568
รวมคำถาม ข้อเสนอ และมุมมอง สตรีกับสันติภาพ : บทบาทภายใต้กระแสชาตินิยมและมุมมองความมั่นคงในเอเชียนตะวันออกเฉียงใต้
แนวคิด-ปรัชญา
15
มกราคม
2568
ชานันท์ ยอดหงษ์ เสนอบทบาทของสตรีในมิติต่าง ๆ รวมทั้งความมั่นคงของรัฐแบบใหม่ที่มุ้งเน้นการสร้างสันติภาพมากกว่าการสร้างความมั่นคงทางทหาร ผ่านการกำหนด Gender Quota System ด้วยการเลือกตั้งที่ส่งเสริมความหลากหลายทางเพศ
แนวคิด-ปรัชญา
9
มกราคม
2568
บทเรียนประวัติศาสตร์เขตแดนไทย-กัมพูชาที่โต้แย้งต่อวาทกรรมการเสียดินแดน และการบิดเบือนเนื้อหาใน MOU 44 เพื่อปลุกกระแสชาตินิยม จนเกินเป้าหมายของข้อตกลงที่ไม่มีใครมีอำนาจโดยสมบูรณ์ในพื้นที่เกาะกูด
แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤศจิกายน
2567
ข้อแตกต่างระหว่างคำว่า ชายแดน พรมแดน เขตแดน จะช่วยเข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยและประเทศกัมพูชา
แนวคิด-ปรัชญา
21
พฤษภาคม
2566
ช่วงตอบคำถามของงานเสวนา PRIDI Talks #20: “ดุลยภาพแห่งอำนาจ” : เปลี่ยนผ่านสังคมไทยด้วยการเลือกตั้ง โดยเปิดให้วิทยากรได้ร่วมแสดงความคิดเห็นพร้อมเสนอทางออกกับโจทย์ใหญ่ในประเด็นดุลยภาพแห่งอำนาจ พร้อมทั้งคำถามจากผู้ชมทั้งช่องทางออนไลน์และในห้องประชุม
แนวคิด-ปรัชญา
20
พฤษภาคม
2566
ประมวลและตั้งข้อสังเกตถึงการดำเนินงานของ "สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง" (กกต.) ในฐานะองค์กรผู้ควบคุมและดำเนินจัดการเลือกตั้ง นับตั้งแต่การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 26 เมื่อปี พ.ศ. 2562 จนกระทั่งถึงการเลือกตั้งครั้งล่าสุดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ที่ผ่านมา
แนวคิด-ปรัชญา
19
พฤษภาคม
2566
อำนาจของเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสารที่ประชาชนทุกคนสามารถนำอำนาจเหล่านี้ มาใช้เป็นเครื่องมือเพื่อตรวจสอบ ส่งเสียงเรียกร้องในสิทธิที่ประชาชนทุกคนพึงมี พร้อมทั้งวิพากษ์วิจารณ์การกระทำที่ไม่เหมาะสมของรัฐบาล เพื่อสร้างสังคมที่มีความเป็นประชาธิปไตย ความเที่ยงธรรม และมีดุลยภาพแห่งอำนาจมากยิ่งขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
18
พฤษภาคม
2566
ความหวังและความฝันของคนหนุ่มสาวในการเปลี่ยนผ่านสังคมไปสู่ระบอบประชาธิปไตยที่แท้จริง ผ่านการเคลื่อนไหวและการต่อสู้ของภาคประชาชนนับตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา เพื่อตั้งคำถามต่อโครงสร้างทางการเมืองที่ไม่เป็นธรรม และสร้างพื้นที่สาธารณะให้แก่ผู้คนซึ่งมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันภายในสังคมสามารถอยู่ร่วมกันได้
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤษภาคม
2566
ความท้าทายทางอุดมการณ์ทางการเมือง เพื่อสร้างดุลยภาพแห่งอำนาจให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมในระบอบประชาธิปไตย ความพยายามในการสร้างระบอบประชาธิปไตยขึ้นผ่านการเลือกตั้ง จึงเป็นการเปลี่ยนผ่านภูมิทัศน์ทางการเมืองจากอำนาจในระบอบเก่า ไปสู่การเมืองใหม่ของประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
16
พฤษภาคม
2566
การคัดง้างระหว่างอำนาจที่สำคัญต่อปัจจัยในการวางรากฐานประชาธิปไตยของสังคมไทยเมื่อครั้งการอภิวัฒน์สยาม 2475 ได้แก่ อำนาจทางกองทัพ และอำนาจตามประเพณีซึ่งเป็นมรดกตกค้างจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
Subscribe to อัครพงษ์ ค่ำคูณ