ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เจียงไคเช็ค

เกร็ดประวัติศาสตร์
30
ตุลาคม
2566
เรื่องราวความเป็นนักเขียนและนักหนังสือพิมพ์ของจำกัด พลางกูร นับตั้งแต่อิทธิพลที่ส่งผลต่อความเป็นนักเขียนนักหนังสือพิมพ์ ความสัมพันธ์ระหว่างนักเขียนสำคัญกับจำกัด ความคิดความสนใจต่อประเด็นทางสังคม ผลงานชิ้นสำคัญ
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
พฤษภาคม
2566
สมรภูมิเดียนเบียนฟูยุทธภูมิสำคัญที่ชี้ชะตากรรมของชาติเวียดนาม กองกำลังเวียดมินห์เดินหมากอย่างมียุทธศาสตร์และกลยุทธ์ พร้อมกับได้รอบการสนับสนุนจากประเทศอื่นๆ รวมไปถึงชาวพื้นเมืองในเขตพื้นที่ดังกล่าว จนสามารถปักธงแห่งชัยชนะได้สำเร็จ กระทั่งนำไปสู่การประชุมเจนีวา ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพื่อหาข้อสรุปยุติความขัดแย้งและฟื้นคืนสันติภาพให้แก่ประเทศในอินโดจีน
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
เมษายน
2566
เรื่องราวภายหลังการประกาศเอกราชของเวียดนามกับอุปสรรคที่ถาโถมรอบด้าน 'โฮจิมินห์' ในฐานะผู้นำของชาติได้ดำเนินการเจรจากับเจ้าอาณานิคมฝรั่งเศสเพื่อยืนยันว่าการมีเอกราชของเวียดนามนั้นถือเป็นหลักการสูงสุด ทว่าฝรั่งเศสยังคงบั่นทอนเอกราชของชาติเวียดนามด้วยสารพัดวิธีเท่าที่จะทำได้
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
เมษายน
2566
การเผชิญวิบากกรรมทางการเมืองอีกครั้งจากการถูกจับกุมโดยพรรคก๊กมินตั๋ง ทว่าขณะที่ถูกจองจำ โฮจิมินห์ก็ยังคงมีความหวังอยู่เสมอเพื่อภารกิจที่ตั้งเป้าหมายไว้ ทันทีที่เป็นอิสระ โฮจิมินห์จึงเริ่มบำรุงสุขภาพดูแลร่างกายที่ทรุดโทรม จากนั้นภารกิจกู้เอกราชก็ได้เปิดฉากขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มีนาคม
2566
เรื่องราวการเดินทางมุ่งหน้ากลับสู่บ้านเกิดเมืองนอนของโฮจิมินห์ พร้อมทั้งสถานการณ์ที่ต้องเผชิญหน้าทั้งเจ้าอาณานิคมเดิมคือฝรั่งเศส และผู้รุกรานใหม่อย่างญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งนำไปสู่การจัดตั้งแนวร่วมพันธมิตรเพื่อเอกราชของเวียดนาม หรือ "เวียดมินห์"
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
กุมภาพันธ์
2566
โฮจิมินห์กับชีวิตในสหภาพโซเวียต เขาอุทิศเวลาส่วนใหญ่ไปกับการศึกษาหาความรู้ทางทฤษฎีมาร์กซ์-เลนิน เมื่อได้เข้าทำงานที่องค์กรคอมมิวนิสต์สากล (Communist International / Comintern) โฮจิมินห์มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนและถกปัญหาต่อประเด็นต่างๆ อยู่ตลอดเวลา
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
ธันวาคม
2565
'ทวีป วรดิลก' เขียนถึง ชื่อเสียงของ 'หวอเหงียนย้าป' ที่ขจรไปไกลสืบเนื่องจากการต่อต้านลัทธิล่าอาณานิคมฝรั่งเศสและอเมริกาได้จนสำเร็จ อีกทั้งเรื่องราวความสัมพันธ์ระหว่าง 'นายปรีดี พนมยงค์' และ 'โฮจิมินห์' ที่นำพาให้ผู้เขียนและ 'ศุขปรีดา พนมยงค์' พร้อมด้วย "คณะมิตรภาพ" ได้เดินทางเข้าเยี่ยมเยียนหวอเหงียนย้าป ณ ที่พำนัก
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
สิงหาคม
2565
ปฏิบัติการภายใต้บัญชาการของหวอเหงียนย้าป สามารถนำโฮจิมินห์และคณะกรรมการศูนย์กลางของพรรคคอมมิวนิสต์เคลื่อนเข้าสู่ฐานที่มั่นได้อย่างปลอดภัย ซึ่งในเวลาต่อมา กองทัพประชาชนได้ยกระดับแนวรบและพัฒนากำลังพลมากขึ้น รวมไปถึงการได้รับความร่วมมือจากประชาชนในท้องถิ่นมากขึ้นเรื่อยๆ
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
กรกฎาคม
2565
แม้จะมีความพยายามในการเจรจาอย่างสันติโดย 'โฮจิมินห์' และ 'หวอเหงียนย้าป' แต่ก็ไม่เป็นผล เพราะผู้ล่าอาณานิยมมิอาจยอมวางมือได้ เมื่อเป็นเช่นนั้น สงครามต่อต้านผู้รุกรานจากประชาชนผู้รักเอกราชจึงอุบัติขึ้นทั่วประเทศ
Subscribe to เจียงไคเช็ค