เจ้าสุพานุวง
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
29
ตุลาคม
2565
คุณศุขปรีดา พนมยงค์ เป็นหัวหน้าพาคณะมิตรสหายไปเยี่ยมเยือนและคารวะผู้อาวุโส ยังประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามหลายครั้ง ผมมีโอกาสติดตามไป 2 ครั้ง เมื่อปี พ.ศ. 2544 และ พ.ศ. 2548 ตามลำดับ
จากนั้น คุณศุขปรีดาลงมือเขียนประวัติท่านโฮจิมินห์ ส่งไปลงพิมพ์เป็นตอนๆ ในนิตยสารมติชนสุดสัปดาห์ เมื่อต้นปี พ.ศ. 2549 และรวมพิมพ์เล่มครั้งแรก โดยสำนักพิมพ์มิ่งมิตร — บริษัทชนนิยม จำกัด เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2549 ในชื่อเล่มที่คุณขรรค์ชัย บุนปาน ประธานเครือบริษัทมติชน จำกัด เป็นผู้ตั้งให้ “โฮจิมินห์ เทพเจ้าผู้ยังมีลมหายใจ”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
1
ตุลาคม
2565
ผลพวงจากข้อตกลงหลังเสียงปืนแห่งสงครามสงบลง คือการใช้เส้นขนานที่ 17 แบ่งแยกดินแดนและการปกครอง ส่งผลให้กำลังพลที่ตกค้างในแต่ละพื้นที่ต้องเคลื่อนย้ายสู่ดินแดนที่ถูกกำหนดไว้ภายใต้สภาพการณ์หลังการสงบศึก
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
4
มิถุนายน
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : หวอเหงียนย้าป จอมทัพคู่บารมีโฮจิมินห์ ถิ่นกำเนิดแห่งปฐมวัย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
15
พฤษภาคม
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : ประธานเเห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว)
การได้มาซึ่งอำนาจปกครองประเทศ ในด้านหลักต้องถือว่าเป็นผลสำเร็จ แห่งชัยชนะของประชาชนที่จะได้นำพาประเทศชาติไปสู่ความก้าวหน้า ตามการดำเนินไปของสัจธรรมที่สังคมต้องเปลี่ยนแปลงและเติบโตอย่างไม่หยุดยั้ง หากแต่ว่าจะต้องเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคนานัปการ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
26
มีนาคม
2565
เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ปิดฉากลง หน่วยงานที่ก่อตัวขึ้นทั้งหลายจึงถูกยุบไป จนเมื่อเกิดสงครามเย็นระหว่างอเมริกากับโซเวียตที่ทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ฟากฝั่งอเมริกาจึงได้จัดตั้ง "ซีไอเอ" ขึ้นมาอีกครั้ง โดยสมาชิกส่วนหนึ่งนั้นมาจากอดีตโอเอสเอส แต่วัตุประสงค์การจัดตั้งคราวนี้เปลี่ยนแปลงจากเดิมไปสิ้นเชิง โดยในครั้งนี้ได้มุ่งเน้นต่อต้าน “คอมมิวนิสต์” ให้ถึงที่สุด
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กุมภาพันธ์
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : เส้นทางหลบหนี
เช้าตรู่ของวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1960 (พ.ศ. 2503) ขณะชาวนครหลวงเวียงจันทน์ตื่นนอนตอนเช้าก็พบว่าเกิดรัฐประหารยึดอำนาจรัฐแล้ว นำโดย ร้อยเอกกองแล โรรัง ผู้บังคับกองพันราบอากาศ พร้อมด้วย ร้อยโทเดือน สุนนะลาด รอง ผ.บ. พัน และร้อยตรีเทียบ ลิดทิเดด มีสารวัตรทหารส่วนหนึ่งเข้าร่วมทำการ และสมทบด้วยทหารอีกส่วนจากค่าย “จินายโม้” รวมกำลังพลประมาณ 800 คน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
12
กุมภาพันธ์
2565
ความขัดแย้งในหมู่ฝ่ายขวาเปิดโอกาสแก่แนวลาวรักชาติ โดยเฉพาะบรรดาสหายที่ถูกคุมขังในคุกโพนเค็งให้สามารถแหกคุกและหลบหนีออกมาได้ด้วยความสำเร็จอย่างงดงาม กรณี “คุกโพนเค็ง” และ “เส้นทางหลบหนี” ก็จักต้องจารจารึกไว้ในประวัติศาสตร์แห่งการต่อสู้ปลดปล่อยชาติของฝ่ายแนวลาวรักชาติชั่วกาลนาน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
30
มกราคม
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว: ตอนที่ 5 ศุขปรีดาเล่าเรื่อง: รัฐบาลแห่งความปรองดองแห่งชาติครั้งที่หนึ่ง “รัฐบาลผสมแห่งชาติ”
เจ้ามหาอุปราชเพ็ดชะลาดผู้นำขบวนการกู้ชาติลาวครั้งแรกในปี ค.ศ. 1945 (2488) ที่ถูกเจ้ามหาชีวิตถอดออกจากตำแหน่งเมื่อฝรั่งเศสกลับมายึดลาว ท่านจำต้องลี้ภัยในเมืองไทยร่วม 10 ปี จึงได้รับนิรโทษกรรมกลับคืนสู่อิสริยยศเดิม และได้เดินทางกลับลาวในวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1957 (2500)
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
8
มกราคม
2565
ปลายเดือนธันวาคม ค.ศ.1949 (2492) หลังจากรอนแรมเดินทางบุกป่าฝ่าดงขึ้นเขาลงห้วยผ่านดินแดนลาวตัดเข้าสู่เวียดนาม เจ้าสุพานุวง ก็ได้มาถึงฐานที่มั่นจังหวัดเง่ห์อาน ในเวียดนาม ณ ที่นั่น ท่านได้พบกับ สหายหนูฮัก พูมสะหวัน ประธานคณะกรรมการลาวต่อต้านเขตภาคตะวันออกและภาคกลาง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to เจ้าสุพานุวง
26
ธันวาคม
2564
เมื่อบาดเจ็บสาหัสจากคมกระสุนที่ยิงมาจากฐานปืนกลประจำเครื่องบินสปิตไฟร์ในศึกป้องกันเมืองท่าแขก และเข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลนครพนมอยู่ระยะหนึ่ง เจ้าสุพานุวงจึงเดินทางเข้าบางกอกพร้อมเจ้าเวียงคำชายาเพื่อรักษาตัวเพิ่มเติม ศัลยแพทย์ฝีมือดีที่สุดคนหนึ่งทำหน้าที่ดูแลท่านในขณะนั้นคือ นายแพทย์บรรจง กรลักษณ์