ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เฉลียว ปทุมรส

เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มิถุนายน
2566
ความอยุติธรรมในกรณีสวรรคต รัชกาลที่ 8 คดีดังกล่าวมิเพียงแต่สั่นสะเทือนต่อความรู้สึกของปวงชนชาวไทยในช่วงเวลานั้น แต่ยังนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ทางการเมืองไทย ช่วงทศวรรษ 2490
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2566
ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ได้บรรยายความรู้สึกเมื่อครั้งเข้าร่วมการพิจารณาคดีสวรรคต ณ ศาลอาญา ในปี พ.ศ. 2491 โดยบอกเล่าสิ่งที่ตนสัมผัสได้จากทั้งสามจำเลย คือ ความสุขุม ความสงบ และความไม่หวั่นเกรงภัยใดๆ เพราะทั้งสามนั้นเชื่อมั่นในความยุติธรรมและความบริสุทธิ์ของตนเองอย่างแน่นหนัก
ชีวิต-ครอบครัว
30
ตุลาคม
2565
108 ปี ชาตกาล 'จำกัด พลางกูร'
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2565
ประเทศไทย ณ ห้วงเวลานั้น ถูกปกครองโดยระบอบเผด็จการ จนในท้ายที่สุด จึงเกิดการรวมกลุ่มของนายปรีดี พนมยงค์ ผู้ที่ทำงานใกล้ชิด และอดีตสมาชิกเสรีไทย ดังที่ ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์ ได้บันทึกไว้ในบทความนี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2565
  วันนี้ 17 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2565 ครบรอบ 67 ปี แห่งการประหาร 3 จำเลยคดีสวรรคตรัชกาลที่ ๘ นายเฉลียว ปทุมรส .. จำเลยที่ 1 นายชิต  สิงหเสนี .. จำเลยที่ 2 นายบุศย์ ปัทมศริน .. จำเลยที่ 3
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2565
ครั้นแล้ววันพุธที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๘ สถานการณ์ในเรือนจำมหันตโทษก็เริ่มเคร่งเครียด ไม่มีใครรู้ว่าอะไรจะเกิดขึ้น นอกจาก ขุนนิยมบรรณสาร ผู้บัญชาการเรือนจำเท่านั้นที่กำความลับไว้ ทุกคนต่างพากันปฏิบัติไปตามคำสั่งโดยไม่รู้ว่าอะไรจะเกิดขึ้น เมื่อ ๑๗.๐๐ น. ได้มีประกาศประชุมด่วน ห้ามมิให้พนักงานทุกคนออกไปจากเรือนจำอย่างเด็ดขาด ผู้ต้องขังทั้งหมดถูกจัดให้เข้าเรือนขังหมดก่อนปกติ คือก่อน ๑๗.๐๐ น. มหันตโทษอันกว้างใหญ่และเต็มไปด้วยเสียงมาตลอดทั้งวัน พลันก็เงียบลงอย่างฉับพลัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
พฤศจิกายน
2564
ท่ามกลางกระแสข่าวความพยายามก่อการรัฐประหารที่ยังคงดำรงอยู่ตลอดเวลา แต่พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ยังคงมีความมั่นใจในเสถียรภาพในรัฐบาลของตนจนถึงขนาดกล่าวว่า “นอนรอปฏิวัติมานานแล้ว ไม่เห็นปฏิวัติเสียที”
บทบาท-ผลงาน
14
สิงหาคม
2564
วิญญูชนรุ่นปัจจุบันที่ตั้งอยู่ในอุเบกขาแสวงหาสัจจะ โดยปราศจากอคติสี่ประการคือ ฉันทา, โทสา, ภยา, โมหา ก็ย่อมเข้าใจได้จากรูปธรรมที่ประจักษ์ถึงท่าทีของฝ่ายสัมพันธมิตร
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤษภาคม
2564
"พฤษภาทมิฬ" เหตุการณ์สำคัญหน้าหนึ่งที่ถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เกิดขึ้นเมื่อคราวที่ พลเอก สุจินดา คราประยูร ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยชนวนเหตุครั้งนั้น คือ การต่อต้านการสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) หัวหน้าผู้ก่อการ คือ พลเอก สุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ณ ขณะนั้น ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลของ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2534
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2564
17 กุมภาพันธ์ ในปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) นายเฉลียว ปทุมรส นายชิต สิงหเสนี และ นายบุศย์ ปัทมศริน 3 จำเลยผู้บริสุทธิ์ถูกประหารชีวิตในกรณีสวรรคต
Subscribe to เฉลียว ปทุมรส