ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เตียง ศิริขันธ์

แนวคิด-ปรัชญา
10
สิงหาคม
2566
ความคิดเพียงว่า ขบวนการเสรีไทยเป็นขบวนการต่อสู้เพื่อปกป้องหรือรักษาเอกราช ได้บดบังสาระสำคัญที่ซ่อนอยู่บางประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุดมการณ์เพื่อสันติภาพ อธิปไตย และการฟื้นคืนประชาธิปไตย
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
พฤษภาคม
2566
รำลึก 62 ปี การจากไปของครูครอง จันดาวงศ์ ลูกอีสานผู้รักชาติ รักประชาชน รักประชาธิปไตย โดยข้อเขียนของสัมผัส พึ่งประดิษฐ์ ผู้ได้ร่วมทุกข์ ร่วมสุขในยามยากลำบากพร้อมกับครูครอง จันดาวงศ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
เมษายน
2566
ความเพลี่ยงพล้ำของฝรั่งเศสใน WWII เปิดลู่ทางให้รัฐบาลจอมพล ป. เรียกร้องต่อกรณี ร.ศ. 112 เมื่อสงครามจบลงชาวเวียดนามอพยพหนีการกว้างล้างของฝรั่งเศสเข้ามายังไทย รัฐบาลประชาธิปไตยภายใต้การนำของนายปรีดี พนมยงค์ จึงดำเนินนโยบายสนับสนุนขบวนกู้เอกราช แต่ก็ต้องหยุดชะงักลงด้วยการรัฐประหาร 2490
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ บอกเล่าเรื่องภายหลังจาก "ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" ต้องประสบกับความล้มเหลว รวมไปถึงท่าทีของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งได้แสดงทรรศนะต่อนายปรีดี พนมยงค์ และสถานการณ์ทางการเมืองในขณะนั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
25
กุมภาพันธ์
2566
การเดินทางของโฮจิมินห์ กับการปฏิบัติภารกิจในสยาม เมื่อโฮจิมินห์ถึงที่หมายอย่างปลอดภัย หลังจากนั้นเขาได้เดินทางต่อขึ้นมายังทางภาคเหนือและอีสานจนได้พบปะกับชาวเวียดนามโพ้นทะเล พร้อมทั้งทำงานเผยแพร่ความคิดเพื่อกอบกู้เอกราชและภารกิจจากองค์กรคอมมิวนิสต์สากล
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
ธันวาคม
2565
เนื่องในวาระ 113 ปี ชาตกาล 'นายเตียง ศิริขันธ์' ขุนพลแห่งภูพานผู้ยิ่งใหญ่ และนักประชาธิปไตยผู้ต่อต้านเผด็จการ ผู้เขียนบอกเล่าถึงชีวประวัติย่อของ 'นายเตียง ศิริขันธ์' รวมไปถึงอิทธิพลความคิดทางการเมืองที่กรุยทางไปสู่การเคลื่อนไหวต่อต้านระบอบเผด็จการ และปฏิบัติการขบวนการเสรีไทยในภาคอีสาน
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
ตุลาคม
2565
'จำกัด พลางกูร' คือ ฟันเฟืองสำคัญของ "ขบวนการเสรีไทย" ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 แม้จะอยู่ในวัยหนุ่มและการสร้างครอบครัวอย่างใหม่หมาด แต่ได้อุทิศแรงกายและแรงใจบุกบั่นเพื่อหน้าที่จนลมหายใจสุดท้าย
18
สิงหาคม
2565
วันที่ 16 สิงหาคม 2565 ที่ผ่านมา ในวาระ 77 ปี วันสันติภาพไทย ในช่วงเช้า สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดพิธีวางช่อดอกไม้บริเวณลานปรีดี พนมยงค์ หน้าตึกโดม เพื่อเป็นรำลึกถึงคุณูปการของผู้เสียสละในขบวนการเสรีไทย ภายใต้การนำของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ในฐานะของหัวหน้าขบวนการฯ และผู้เสียชีวิตจากสงครามโลกครั้งที่ 2   
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
สิงหาคม
2565
บรรยากาศ ท่าทีและความรู้สึกของผู้คนในสังคมท่ามกลางบรรยากาศโดยรอบในวันที่สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มาเยือนสยามประเทศเป็นที่เรียบร้อย เริ่มจากการรุกล้ำอธิปไตยของชาติไทยโดยญี่ปุ่น เหตุการณ์ดังกล่าวนำไปสู่การก่อตั้ง "องค์การต่อต้านญี่ปุ่น" หรือ "ขบวนการเสรีไทย" ภายใต้การนำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' พร้อมด้วยภารกิจสำคัญ 2 ประการ เพื่อปลดปล่อยชาติไทยคืนสู่ความเป็นเอกราชอีกครั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
3
มีนาคม
2565
"ความเป็นกลาง" ที่นายปรีดีเน้นย้ำก็ได้ถูกถ่ายทอดออกมาเป็นภาพยนตร์ไทยที่มีชื่อว่า "พระเจ้าช้างเผือก" ซึ่งประกาศในตอนจบไว้ว่า “ชัยชนะแห่งสันติภาพมิได้มีชื่อเสียงบันลือนามน้อยไปกว่าชัยชนะแห่งสงคราม”
Subscribe to เตียง ศิริขันธ์