เผด็จการทหาร
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2566
การจะไปสู่ชัยชนะจากการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมาได้นั้น ต้องตอบคำถามให้ได้ว่า เราจะตั้งรัฐบาลประชาธิปไตยได้อย่างไร ทำอย่างไรไม่ให้พรรคการเมืองฝ่ายประชาธิปไตยแตกเป็นสองฝ่าย และไม่เกิดการสลับขั้วย้ายข้าง อันเป็นหายนะ และต้องตระหนักว่าปัญหาที่ยิ่งใหญ่ คือความไม่เป็นประชาธิปไตยยังเข้มแข็ง ซับซ้อน ต้องใช้เวลา และความพยายามจนกระทั่งเราฝ่าไปได้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤษภาคม
2566
ผลการเลือกเมื่อ 14 พ.ค. 2566 แสดงถึงเจตจำนงและฉันทามติของสังคมไทยอย่างเด่นชัดที่ต้องการเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ทว่า กลับต้องพบกับอุปสรรคทางการเมืองที่ถูกวางไว้ผ่านรัฐธรรมนูญ 2560 ในบทเฉพาะกาล โดยกำหนดให้ สว. จำนวน 250 คน มีสิทธิร่วมเลือกนายกรัฐมนตรีผ่านกลไกการประชุมรัฐสภา
บทความ • บทบาท-ผลงาน
12
พฤษภาคม
2566
ธรรมเกียรติ กันอริ อภิปรายทรรศนะแห่งประชาธิปไตยของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ไว้ ณ เรือนไทยหอประชุมภายในเขตอนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อครั้งอัญเชิญอัฐิธาตุของ 'นายปรีดี พนมยงค์' กลับสู่มาตุภูมิ เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
10
พฤษภาคม
2566
ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ ได้แสดงทรรศนะในการอภิปรายเรื่อง "ปรีดี พนมยงค์ กับประชาธิปไตยไทย" ไว้ ณ เรือนไทยหอประชุมภายในเขตอนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อครั้งอัญเชิญอัฐิธาตุของ 'นายปรีดี พนมยงค์' กลับสู่มาตุภูมิ เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
11
พฤษภาคม
2565
'ดร.วรวิทย์ กนิษฐะเสน' ผู้ที่มี "คุณปู่ปรีดี" เป็นแบบอย่างในชีวิต ได้ย้อนวันวานบอกเล่าเรื่องราวในความทรงจำ เมื่อครั้งที่ใช้ชีวิตอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศส ใกล้ชิดกับคุณปู่ปรีดีและคุณย่าพูนศุข ณ บ้านเดี่ยวหลังอบอุ่น บ้านอองโตนี อีกทั้งความประทับใจที่ได้ใช้สถานที่แห่งนี้จัดงานแต่งงาน โดยเจ้าภาพในงานครั้งนั้น ก็คือ นายปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
14
ตุลาคม
2564
ความทรงจำดังกล่าวเป็นผลมาจากการจำกัดการรับรู้ข้อมูลข่าวสารในระบอบเผด็จการทหารซึ่งผูกขาดช่องทางการสื่อสารและปกครองประเทศด้วยการปิดกั้นเสรีภาพมาอย่างยาวนาน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
5
กุมภาพันธ์
2564
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ได้บอกกับเราว่า "เพราะเหตุใดการขึ้นสู่อำนาจของคณะรัฐประหาร จึงก่อให้เกิดผลในการทำลายประชาธิปไตย และล้มล้างลัทธิธรรมนูญได้ถึงเพียงนี้"
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
4
กุมภาพันธ์
2564
รุ่งขึ้นของเหตุการณ์รัฐประหาร 2490 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 4 ของประเทศไทย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กุมภาพันธ์
2564
ผู้ก่อการรัฐประหารส่วนใหญ่เป็นนายทหารนอกประจำการ เริ่มแรกบรรดาผู้ก่อการต่างคนต่างคิดมีทั้งหมด 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีพวกพ้องของตนโดยเฉพาะที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งทั้ง หมดได้มาพบปะและรู้ความประสงค์ซึ่งกันและกัน โดยใช้วัตถุประสงค์ที่ร่วมกันร่างเป็น "ข้ออ้าง" ในการกระทำรัฐประหารในครานั้น
บทความ • บทสัมภาษณ์
Subscribe to เผด็จการทหาร
2
กุมภาพันธ์
2564
ก่อนหน้าที่จะมีรัฐประหาร มีข่าวลือว่าจะเกิดปฏิวัติรัฐประหาร หนังสือพิมพ์ศรีกรุง ฉบับประจำวันที่ 28 พฤศจิกายน 2489 ลงข่าวว่ารัฐบาลสั่งเตรียมพร้อม เนื่องจากว่ามีข่าวเรื่องนายทหารชั้นประทวนคบคิดกันจะใช้กำลังล้มล้างรัฐบาลในเดือนกรกฎาคม 2490