ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เผด็จการทหาร

บทบาท-ผลงาน
30
พฤศจิกายน
2567
สัมผัส พึ่งประดิษฐ์ เขียนถึงบทบาทและผลงานสำคัญทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของปรีดี พนมยงค์ ตั้งแต่การอภิวัฒน์ 24 มิถุนายน 2475 จนถึงวาระสุดท้ายของชีวิตในปี 2526
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
พฤษภาคม
2567
ครอง จันดาวงศ์ เป็นผู้นำชาวนาดงพระเจ้าเคลื่อนไหวทางการเมือง ถูกประหารชีวิตปี 2504 หลังจากนั้นชาวนาจำนวนมากหนีเข้าป่าร่วมพรรคคอมมิวนิสต์ต่อสู้ด้วยกำลังอาวุธ เขตดงพระเจ้า จึงเป็นจุดเริ่มต้นการต่อสู้ของพคท. ในอีสาน
แนวคิด-ปรัชญา
11
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ต้องการนำเสนอถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐธรรมนูญฉบับที่เป็นตัวกฎหมายกับฉบับวัฒนธรรม และการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ผ่านมโนทัศน์ ‘รัฐธรรมนูญฉบับวัฒนธรรม’
แนวคิด-ปรัชญา
30
สิงหาคม
2566
ข้อเสนอ ข้อสังเกต และบทบาทอาเซียนในการเสริมสร้างสันติภาพในเมียนมา รวมไปถึงบทบาทของรัฐบาลไทย จากคำถามของผู้ฟังและผู้รับชมการถ่ายทอดสด และตอบโดยวิทยากรร่วมเสวนา
แนวคิด-ปรัชญา
28
สิงหาคม
2566
อาเซียนยังไม่ได้สิ้นไรไม้ตอก อาเซียนยังคงมีแต้มต่ออย่างที่เคยใช้ในกรณีของความขัดแย้งในประเทศกัมพูชา เรื่องสมาชิกภาพในการขู่ เช่นเดียวกัน สามารถนำเรื่องแต้มต่อนี้ในการขับพม่าออกจากสมาชิกภาพอาเซียนนี้จากการประเทศพม่าไม่รักษาคำสัญญาที่ให้ไว้กับอาเซียนในหลายๆ กรณีที่เกิดขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
26
สิงหาคม
2566
สถานการณ์ในพม่า ณ ปัจจุบันจึงกลายเป็นเสมือนศึกสามก๊ก ระหว่างรัฐบาลเผด็จการทหารของมิน อ่อง หล่าย กับฝ่ายประชาธิปไตยของรัฐบาล NUG ที่ต่อต้านรัฐบาลเผด็จการทหาร รวมไปถึงกลุ่มชาติพันธ์ุที่ยังไม่สามารถสรุปท่าทีได้อย่างชัดเจน ทั้งสามฝ่ายนี้ ต่างก็มีทัศนะต่อความหมายของการสร้างสันติภาพที่ต่างกัน
24
สิงหาคม
2566
ประเทศไทยจำเป็นต้องแสดงบทบาท เป็นผู้สร้างสรรค์เพื่อความก้าวหน้าต่อการสร้างสันติธรรมประชาธิปไตยให้นานาประเทศสามารถยึดถือเป็นแบบอย่าง โดย ‘รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ’ ได้เสนอแบบอย่างที่ประเทศไทยสมควรกระทำทั้งสิ้น 8 ประการ
แนวคิด-ปรัชญา
15
สิงหาคม
2566
ผู้เขียนได้สร้างกรอบความคิดและมุมมองการวิเคราะห์ถึงการจัดการความ ขัดแย้งและการสร้างสันติภาพในเมียนมาที่มีลักษณะที่ทั้งก้าวหน้า คงที่ และถดถอย ซึ่งมีความสลับซับซ้อนของตัวแปรที่ปรากฏในการเมืองของเมียนมาไว้เป็น 3 ส่วนหลัก เพื่อแนวทางต่อขบวนการสร้างสันติภาพในอนาคต
แนวคิด-ปรัชญา
15
กรกฎาคม
2566
ความเป็นเลิศของ ‘สุภา ศิริมานนท์’ ไม่ได้ถูกจำกัดไว้เพียงในบทบาทของบรรณาธิการที่ผลักดันหนังสือที่ตนดูแลให้มีคุณภาพที่สุด หากแต่ รวมไปถึงวิถีชีวิตที่ดิ้นรนต่อสู้กับภัยความมืดบอดจากเผด็จการเพื่อให้ได้มาซึ่งอิสรภาพทางความคิดของทั้งคนวงการหนังสือพิมพ์และสังคมไทย
แนวคิด-ปรัชญา
4
กรกฎาคม
2566
ประเทศที่จะเป็นประชาธิปไตยได้ดี คือคนในสังคมต้องพร้อมเป็นประชาธิปไตย แล้วการที่พร้อมก็คือมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแข็งขันไม่ว่าจะอย่างไรก็ตาม มีเงื่อนไขอยู่แค่ประชาชนกับทหารดังนั้นสิ่งที่ต้องทำก็คือ ทำให้ทหารเป็นของประชาชน อยู่กับประชาชน
Subscribe to เผด็จการทหาร