ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เมียนมา

แนวคิด-ปรัชญา
20
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ ผู้เขียนนอกจากจะวิเคราะห์กลุ่มพรรคการเมืองทั้งสองกลุ่มว่า นำเสนอนโยบายต่างประเทศที่มีจุดเน้นแตกต่างกันแล้ว ยังย้อนรำลึกถึงนโยบายของรัฐบาลบางชุดในอดีต
แนวคิด-ปรัชญา
30
สิงหาคม
2566
ข้อเสนอ ข้อสังเกต และบทบาทอาเซียนในการเสริมสร้างสันติภาพในเมียนมา รวมไปถึงบทบาทของรัฐบาลไทย จากคำถามของผู้ฟังและผู้รับชมการถ่ายทอดสด และตอบโดยวิทยากรร่วมเสวนา
แนวคิด-ปรัชญา
28
สิงหาคม
2566
อาเซียนยังไม่ได้สิ้นไรไม้ตอก อาเซียนยังคงมีแต้มต่ออย่างที่เคยใช้ในกรณีของความขัดแย้งในประเทศกัมพูชา เรื่องสมาชิกภาพในการขู่ เช่นเดียวกัน สามารถนำเรื่องแต้มต่อนี้ในการขับพม่าออกจากสมาชิกภาพอาเซียนนี้จากการประเทศพม่าไม่รักษาคำสัญญาที่ให้ไว้กับอาเซียนในหลายๆ กรณีที่เกิดขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
27
สิงหาคม
2566
ความสัมพันธ์ระหว่างพม่าและอาเซียนมีนัยของความเปลี่ยนแปลงในประเทศพม่า และเป็นเหตุให้อาเซียนจำเป็นต้องปรับตัวพอสมควรตลอดมา โดยเฉพาะในหลักการเรื่อง “การไม่แทรกแซงกิจการภายในของประเทศสมาชิก” และด้วยภูมิรัฐศาสตร์สำคัญของพม่า ยังคงให้รัฐบาลเผด็จการทหารสามารถรักษาสถานภาพของตนได้
แนวคิด-ปรัชญา
27
สิงหาคม
2566
บทบาทของผู้หญิงสะท้อนให้เห็นถึงปัญหาความไม่เท่าเทียมและเสมอภาคกัน ไม่ใช่แค่เพียงแต่ปัญหาเรื่องประชาธิปไตยเท่านั้น หากแต่ยังรวมไปถึงปัญหาเรื่องความไม่เท่าเทียมทางเพศ การเลือกปฏิบัติ ตลอดจนการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นร้ายแรง
แนวคิด-ปรัชญา
26
สิงหาคม
2566
สถานการณ์ในพม่า ณ ปัจจุบันจึงกลายเป็นเสมือนศึกสามก๊ก ระหว่างรัฐบาลเผด็จการทหารของมิน อ่อง หล่าย กับฝ่ายประชาธิปไตยของรัฐบาล NUG ที่ต่อต้านรัฐบาลเผด็จการทหาร รวมไปถึงกลุ่มชาติพันธ์ุที่ยังไม่สามารถสรุปท่าทีได้อย่างชัดเจน ทั้งสามฝ่ายนี้ ต่างก็มีทัศนะต่อความหมายของการสร้างสันติภาพที่ต่างกัน
แนวคิด-ปรัชญา
25
สิงหาคม
2566
ข้อเสนอที่สำคัญบางประการต่อบทบาทของรัฐบาลไทยที่มีต่อสถานการณ์ฉุกเฉินของประเทศเมียนมาในปัจจุบัน ข้อเสนอแรกคือ การเปลี่ยนกระบวนทัศนทางด้านการทูต ข้อเสนอที่สองคือ การเตรียมความพร้อมในการเข้าไปช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และเสนอให้รัฐบาลไทยเป็นผู้นำการจัดการเชิญประชุมผู้แทนประเทศชายแดนที่เกี่ยวข้อง
24
สิงหาคม
2566
ประเทศไทยจำเป็นต้องแสดงบทบาท เป็นผู้สร้างสรรค์เพื่อความก้าวหน้าต่อการสร้างสันติธรรมประชาธิปไตยให้นานาประเทศสามารถยึดถือเป็นแบบอย่าง โดย ‘รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ’ ได้เสนอแบบอย่างที่ประเทศไทยสมควรกระทำทั้งสิ้น 8 ประการ
แนวคิด-ปรัชญา
15
สิงหาคม
2566
ผู้เขียนได้สร้างกรอบความคิดและมุมมองการวิเคราะห์ถึงการจัดการความ ขัดแย้งและการสร้างสันติภาพในเมียนมาที่มีลักษณะที่ทั้งก้าวหน้า คงที่ และถดถอย ซึ่งมีความสลับซับซ้อนของตัวแปรที่ปรากฏในการเมืองของเมียนมาไว้เป็น 3 ส่วนหลัก เพื่อแนวทางต่อขบวนการสร้างสันติภาพในอนาคต
แนวคิด-ปรัชญา
11
สิงหาคม
2566
กระบวนการปฏิรูปทางการเมืองและเศรษฐกิจของเมียนมาผ่านมุมมองและมิติระหว่างประเทศ ถึงบทบาทจากภายนอกเมียนมา ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาระบบอภิบาลประชาธิปไตย รวมไปถึงกระบวนการสันติภาพและการเจรจาปรองดอง จากบริบทระหว่างประเทศ โดยมีตัวแสดงภายนอกที่มีส่วนช่วยให้ได้รับประโยชน์จากประชาธิปไตยในที่สุด
Subscribe to เมียนมา