ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เศรษฐกิจ

บทสัมภาษณ์
6
พฤศจิกายน
2566
ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์แรงงาน ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงประเด็นด้านแรงงานนับตั้งแต่รากฐานทางเศรษฐกิจภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 จนถึงประเด็นด้านขบวนการแรงงานรวมถึงหลักประกันทางกฎหมายของแรงงานไทยที่ผกผันไปตามพลวัตของประวัติศาสตร์เศรษฐศาสตร์การเมืองไทย
แนวคิด-ปรัชญา
3
พฤศจิกายน
2566
จากปัจจัยสำคัญที่ทำให้ญี่ปุ่นและเยอรมนีประสบความสำเร็จนี้ นับเป็นสิ่งที่ประเทศไทยสามารถเรียนรู้จากประสบการณ์ของญี่ปุ่นและเยอรมนีเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจให้เจริญรุ่งเรืองได้
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
ตุลาคม
2566
ดร.ตั้ว มองว่าวิทยาศาสตร์เป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจที่จะเป็นรากฐานสร้างความมั่นคงถาวรให้กับประเทศชาติ ไม่ว่าจะในด้านกสิกรรม พานิชยกรรม อุตสาหกรรม รวมไปถึงในด้านการขนส่งที่ล้วนจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนและทำให้วิทยาศาสตร์กลายเป็นหัวใจสำคัญของรากฐานในการศึกษา
แนวคิด-ปรัชญา
18
กันยายน
2566
PRIDI's Law Lecture ในวันนี้ขอเสนอถึงการกระทำของฝ่ายปกครองอีกประการหนึ่งนอกเหนือไปจากการรักษาความสงบเรียบร้อยทั้งในทางตรงและทางอ้อม คือ การส่งเสริมให้ราษฎรมีความสุขสมบูรณ์
แนวคิด-ปรัชญา
12
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้นำเสนอถึงปัจจัยที่ส่งผลให้คนจนก่ออาชญากรรมและถูกพบเห็นมากกว่าคนรวย ในขณะเดียวกันคนรวยทำอย่างไรจึงก่ออาชญากรรมได้โดยไม่ถูกนับเป็นอาชญากรรม
แนวคิด-ปรัชญา
26
กรกฎาคม
2566
หนึ่งในปัจจัยสำคัญและแสนยากเข็ญต่อการเปลี่ยนแปลงสังคมการเมืองคือ การเปลี่ยนทัศนคติและมุมมองทางการเมือง ซึ่งไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับบุคคลที่จะเปลี่ยนความเชื่อหรือฟากฝั่งที่ตนยึดถือมาตลอด โดยเฉพาะกับบุคคลที่มีผลประโยชน์ผูกพันกับความเชื่อดังกล่าว โดยเฉพาะชนชั้นนำอนุรักษนิยม
แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤษภาคม
2566
ความสำเร็จของการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา อาจมิใช่แค่เพียงชัยชนะของฝ่ายประชาธิปไตยและการต่อสู้ทางอุดมการณ์ หากจะต้องวิเคราะห์ไปให้ไกลถึง "นโยบาย" ที่พรรคการเมืองได้ประกาศพันธะสัญญา อาจวิเคราะห์ได้ว่าคนในสังคมไทยเห็นพ้องร่วมกันว่าต้องขับเคลื่อนให้เกิดขึ้นได้ในสังคม
บทบาท-ผลงาน
28
เมษายน
2566
แนวทางการปฏิรูปทางเศรษฐกิจและนโยบายการคลัง อันนำไปสู่ความเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ เมื่อครั้ง 'นายปรีดี พนมยงค์' รั้งตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง พร้อมกับความเป็นมาและความสัมพันธ์ระหว่างระบบไพร่และกลไกทางภาษี อันเป็นเครื่องมือชิ้นสำคัญทางสังคมในระบอบศักดินา
บทบาท-ผลงาน
27
เมษายน
2566
ผลการดำเนินงานตามนโยบายเศรษฐกิจที่ได้จากความพยายามของคณะผู้ก่อการอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อการปรับปรุงแก้ไขความป่วยไข้ทางเศรษฐกิจที่บ่อนเซาะชีวิตของราษฎรสยาม ผ่านการจัดทำพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากร พุทธศักราช 2481
แนวคิด-ปรัชญา
21
มีนาคม
2565
เขมภัทร ทฤษฎิคุณ นำเสนอซีรีส์บทความใหม่ที่ช่วยสรุปสถานการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศไทยเพื่อให้ทุกท่านสามารถติดตามสถานการณ์เศรษฐกิจได้สะดวกขึ้นใน "PRIDI Economic Focus พินิจเศรษฐกิจกับสถาบันปรีดี พนมยงค์" โดยในบทความแรกจะขอนำเสนอเรื่อง "วิกฤตรัสเซีย-ยูเครน และ ผลกระทบทางเศรษฐกิจต่อประเทศไทย"
Subscribe to เศรษฐกิจ