ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เสนีย์ ปราโมช

เกร็ดประวัติศาสตร์
9
กรกฎาคม
2568
ศาสตราจารย์ ดร.กนต์ธีร์ ศุภมงคล ได้ติดตาม ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช กลับถึงกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2488 และเสนีย์ได้เข้าดํารงตําแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีในรุ่งขึ้นวันที่ 17 กันยายนเป็นต้นไป โดยมีภารกิจแรกคือการแต่งตั้งคณะผู้แทนไทยเพื่อไปเจรจาเลิกสถานะสงครามกับอังกฤษที่แคนดี
แนวคิด-ปรัชญา
6
มิถุนายน
2568
บันทึกความทรงจำกับเบื้องหลังของผู้เขียนในฐานะสมาชิกขบวนการเสรีไทยที่ได้เข้าเจรจากับสหรัฐอเมริกา ณ กรุงวอชิงตัน และเบื้องหลังการประชุมของสมาชิกขบวนการเสรีไทยกับผู้เกี่ยวข้องต่อสถานะของประเทศไทยหลังสงคราม
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤษภาคม
2568
วิเคราะห์ท่าทีของอังกฤษต่อประเทศไทยช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเน้นความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์เชิงยุทธศาสตร์กับหลักเอกราชของชาติไทย เปิดเผยเบื้องหลังทางการทูตและการเจรจาลับระหว่างอังกฤษ สหรัฐฯ และไทย ที่หล่อหลอมอนาคตประเทศไทยหลังสงคราม
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
กันยายน
2567
สาส์นของนายปรีดี พนมยงค์ ถึงนายสุกิจ นิมมานเหมินท์ รองนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 15 ธันวาคม 2516 อภิปรายเรื่องการเลือกตั้ง พ.ศ. 2489-2500 โดยเน้นการวิเคราะห์ไปที่การเลือกตั้ง 15 ธันวาคม 2500 โดยใช้สถิติจากหนังสือรายงานการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของกระทรวงมหาดไทยเล่ม 2 ประกอบการวิเคราะห์ดังกล่าว
บทบาท-ผลงาน
9
พฤษภาคม
2567
การสถาปนารัฐธรรมนูญฉบับประชาธิปไตยสมบูรณ์ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 เกิดขึ้นในรัฐบาลสมัยคณะราษฎร จากแนวคิดของนายปรีดี พนมยงค์ รัฐธรรมนูญฉบับ 2489 มีรูปแบบที่เป็นประชาธิปไตยสมบูรณ์ซึ่งมีหลักการสำคัญในรัฐธรรมนูญ ได้แก่ แยกข้าราชการประจำออกจากข้าราชการการเมือง ระบบสองสภาฯ คือสภาผู้แทนราษฎรกับพฤฒสภาต้องมาจากการเลือกตั้งของราษฎร
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
พฤศจิกายน
2566
เรื่องราวอัตชีวประวัติของท่านเมื่อครั้นท่านยังเยาว์วัย บุคลิก นิสัย และวีรกรรมเมื่อสมัยเป็นนักเรียนอังกฤษ ก่อนที่ท่านจะรับการชักชวนเป็นสมาชิกคณะราษฎร ร่วมปฏิบัติภารกิจกู้ชาติในฐานะสมาชิกเสรีไทย และกลายเป็นนายกรัฐมนตรีลำดับที่ 5 แม้จะเป็นเพียง 17 วัน
แนวคิด-ปรัชญา
2
พฤศจิกายน
2566
ปรากฏความยอกย้อนของการอธิบายสถานะพระราชกฤษฎีกาที่ 1 จากทัศนะที่มองผ่านการตีความคำจำกัดความของรัฐธรรมนูญในปัจจุบัน จึงจำเป็นต้องย้อนให้ผู้อ่านมองผ่านบริบททางประวัติศาสตร์ของสังคมสยามและการรับรู้สถานะรัฐธรรมนูญของชนชั้นนำในห้วงยามนั้นที่มองร่างพระราชกฤษฎีกาที่ 1 ยังมิได้เป็นรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยตามบริบทการเมืองในช่วงเวลานั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
ตุลาคม
2566
เรื่องราวความเป็นนักเขียนและนักหนังสือพิมพ์ของจำกัด พลางกูร นับตั้งแต่อิทธิพลที่ส่งผลต่อความเป็นนักเขียนนักหนังสือพิมพ์ ความสัมพันธ์ระหว่างนักเขียนสำคัญกับจำกัด ความคิดความสนใจต่อประเด็นทางสังคม ผลงานชิ้นสำคัญ
บทบาท-ผลงาน
2
กันยายน
2566
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงว่าตลอดระยะเวลาการดำเนินงานของขบวนการเสรีไทยเพื่อกอบกู้ชาติ จะพบเห็นการเสียสละและความยากลำบากของผู้ปฏิบัติการ ขณะเดียวกันก็ปรากฏความช่วยเหลือจากมิตรแท้และประชาชนเสมอมา
แนวคิด-ปรัชญา
10
สิงหาคม
2566
ความคิดเพียงว่า ขบวนการเสรีไทยเป็นขบวนการต่อสู้เพื่อปกป้องหรือรักษาเอกราช ได้บดบังสาระสำคัญที่ซ่อนอยู่บางประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุดมการณ์เพื่อสันติภาพ อธิปไตย และการฟื้นคืนประชาธิปไตย
Subscribe to เสนีย์ ปราโมช