เสียง พนมยงค์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
22
ตุลาคม
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เสนอข้อบิดเบือนในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ 2 ประการคือ การบิดเบือนเรื่องแผลงสมาคมสามัคยานุเคราะห์เป็นสหภาพแรงงาน และผลของการต่อสู้กับอัครราชทูตไทยตัวแทนของสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของนักเรียนนอก
บทความ • บทบาท-ผลงาน
14
พฤษภาคม
2566
ประมวลฐานความคิดของนายปรีดี พนมยงค์ ที่มีต่อการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร นับตั้งแต่วัยเยาว์ ไปจนถึงการอภิวัฒน์สยาม 2475 ก่อร่างสร้างประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ อีกทั้งรัฐธรรมนูญฉบับ 2489 ซึ่งกำหนดหลักการผู้เกี่ยวข้องทางการเมืองไว้อย่างเป็นธรรม รวมไปถึงวิธีส่งเสริมให้ราษฎรสนใจประชาธิปไตย ซึ่งปรากฏในจดหมายถึง ฯพณฯ สัญญา ธรรมศักดิ์ นายกรัฐมนตรี
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
2
มกราคม
2566
2 มกราคม 2566 111 ปี ชาตกาล "ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์" กับเรื่องราวชีวประวัติย่อนับตั้งแต่วัยเยาว์ตราบจนช่วงเวลาที่เคียงข้างผู้เป็นสามี "นายปรีดี พนมยงค์" รัฐบุรุษอาวุโส พร้อมกับเรื่องราวที่ยืนหยัดและยึดมั่นต่อหลักการความยุติธรรม
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
16
พฤศจิกายน
2565
นับตั้งแต่วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 จนกระทั่งวันนี้ เป็นเวลา 94 ปี ที่นามของปรีดี-พูนศุข ได้ประสานรวมเป็นหนึ่งและเคียงข้างกัน แม้ทั้งสองจะล่วงลับละสังขารจากโลกนี้ไปแล้ว แต่เรื่องราวความรักและคุณูปการที่ได้เคยกระทำไว้เมื่อครั้งมีชีวิตอยู่ ยังคงโลดแล่นและไหลเวียนอยู่ในสายธารแห่งประวัติศาสตร์อย่างมิรู้จบ....ตราบนานเท่านาน
.
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2565
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อเข้าใจประวัติศาสตร์แห่งการอภิวัฒน์ PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
พฤษภาคม
2565
ในวาระ 122 ปีชาตกาลของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ยังคงมีเรื่องราวสืบเนื่องจากคุณูปการให้รำลึกถึงท่าน อาทิเช่น ถนนประดิษฐ์มนูธรรม ย่านลาดพร้าว และถนนปรีดี พนมยงค์ ย่านสุขุมวิท ที่จะเล่าถึงในบทความชิ้นนี้[1]
บทความ • บทบาท-ผลงาน
26
เมษายน
2565
จากปัญหาหลักของชาวนาในสยามที่ปรีดีพบ คือ ไม่ได้รับความช่วยเหลือและดูแลโดยหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจากทั้งส่วนกลาง หรือส่วนท้องถิ่น อาจเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ปรีดี สนใจเรื่องบทบาทและหน้าที่ตำรวจชาวนาของฝรั่งเศส ส่งผลเชื่อมโยงแนวคิดมาจนถึงการอภิวัฒน์สยามเพื่อความสุขสมบูรณ์ของราษฎร ตามปฏิญญาที่คณะราษฎรได้ประกาศไว้
บทความ • บทบาท-ผลงาน
4
ธันวาคม
2564
ย้อนกาลเวลาสู่ช่วงทศวรรษ 2440 กลางท้องทุ่งริมเขตแดนของอำเภออุทัย (ยุคนั้นเรียก “อำเภออุไทย”) แห่งอยุธยา มณฑลกรุงเก่า ได้ปรากฏบุรุษสามรายผู้ประพฤติตนเป็น “นักต่อสู้ไล่ช้าง” อันมีนามว่า คุณแดง นายฮ้อ และนายเสียง เรื่องราวของพวกเขาจะเป็นอย่างไร? และเกี่ยวข้องประการใดกับ นายปรีดี พนมยงค์?
โปรดติดตาม ณ บัดนี้
บทความ • บทบาท-ผลงาน
11
พฤษภาคม
2564
ณ บริเวณฝั่งเหนือของคลองเมืองหลวง ห่างจากมุมกำแพงพระราชวังโบราณ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) ด้านตะวันตกประมาณเกือบ 1 กิโลเมตร มีวัดหนึ่งตั้งอยู่ ผู้เฒ่าได้เล่าสืบทอดต่อๆ กันมาว่า
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to เสียง พนมยงค์
25
เมษายน
2564
นับจากการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของการเมืองการปกครองประเทศ ได้มีผู้แทนราษฎรชั่วคราวชุดแรกจำนวน 70 คน ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจาก “คณะราษฎร” ทำการประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 โดยใช้ห้องโถงชั้นบนของพระที่นั่งอนันตสมาคมเป็นที่ประชุม