เหมาเจ๋อตง
บทความ • บทบาท-ผลงาน
25
ตุลาคม
2566
รวบรวมผลงานเขียนของนายปรีดี พนมยงค์ที่สะท้อนให้เห็นถึงทัศนะและความคิดทางการเมืองของนายปรีดี ในช่วงทศวรรษ 2510 และเจาะไปถึงปัญหาความแตกต่าง ทั้งหลักการ ความคิด การเคลื่อนไหว และจุดตั้งต้นระหว่าง “คอมมิวนิสต์และสังคมนิยม”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มิถุนายน
2566
เถ้าถ่านแห่งสงครามที่ยังไม่ทันมอดดับหลังจากความปราชัยของฝรั่งเศส และแล้วไฟสงครามก็ลุกโชนอีกครั้งในแผ่นดิน หลังจากสหรัฐอเมริกาเปิดฉากโจมตีเวียดนามเพื่อสกัดกั้นการเติบโตของลัทธิคอมมิวนิสต์ สงครามระลอกดังกล่าวอุบัติขึ้นในช่วงบั้นปลายชีวิตของโฮจิมินห์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
6
พฤษภาคม
2566
สมรภูมิเดียนเบียนฟูยุทธภูมิสำคัญที่ชี้ชะตากรรมของชาติเวียดนาม กองกำลังเวียดมินห์เดินหมากอย่างมียุทธศาสตร์และกลยุทธ์ พร้อมกับได้รอบการสนับสนุนจากประเทศอื่นๆ รวมไปถึงชาวพื้นเมืองในเขตพื้นที่ดังกล่าว จนสามารถปักธงแห่งชัยชนะได้สำเร็จ กระทั่งนำไปสู่การประชุมเจนีวา ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพื่อหาข้อสรุปยุติความขัดแย้งและฟื้นคืนสันติภาพให้แก่ประเทศในอินโดจีน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
22
เมษายน
2566
เรื่องราวภายหลังการประกาศเอกราชของเวียดนามกับอุปสรรคที่ถาโถมรอบด้าน 'โฮจิมินห์' ในฐานะผู้นำของชาติได้ดำเนินการเจรจากับเจ้าอาณานิคมฝรั่งเศสเพื่อยืนยันว่าการมีเอกราชของเวียดนามนั้นถือเป็นหลักการสูงสุด ทว่าฝรั่งเศสยังคงบั่นทอนเอกราชของชาติเวียดนามด้วยสารพัดวิธีเท่าที่จะทำได้
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
8
เมษายน
2566
การเผชิญวิบากกรรมทางการเมืองอีกครั้งจากการถูกจับกุมโดยพรรคก๊กมินตั๋ง ทว่าขณะที่ถูกจองจำ โฮจิมินห์ก็ยังคงมีความหวังอยู่เสมอเพื่อภารกิจที่ตั้งเป้าหมายไว้ ทันทีที่เป็นอิสระ โฮจิมินห์จึงเริ่มบำรุงสุขภาพดูแลร่างกายที่ทรุดโทรม จากนั้นภารกิจกู้เอกราชก็ได้เปิดฉากขึ้น
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
11
มีนาคม
2566
โฮจิมินห์กลับเข้าศึกษาต่อ ณ กรุงมอสโก สหภาพโซเวียต พร้อมทั้งทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงให้กับสหายชาวเวียดนามคนอื่นๆ ที่กำลังศึกษาเช่นเดียวกัน ชัยชนะของพรรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศส และผลของการสงบศึกชั่วคราวระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์จีนกับก๊กมินตั๋ง เปิดโอกาสขยับย่นย่อให้การกอบกู้เอกราชของชาวเวียดนามเดินมาถึงในเร็ววัน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2566
อ่านบันทึกประวัติศาสตร์ของขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ ผ่านผ่านบันทึกความทรงจำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ซึ่งแสดงให้เห็นลำดับเหตุการณ์ก่อน-หลัง เหตุแห่งการเกิด และหลักฐานเชิงประจักษ์ อันนำไปสู่การตอบโต้รัฐประหาร 2490 และทวงคืนระบอบประชาธิปไตยสมบูรณ์ให้แก่สังคมไทย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
18
กุมภาพันธ์
2566
โฮจิมินห์กับชีวิตในสหภาพโซเวียต เขาอุทิศเวลาส่วนใหญ่ไปกับการศึกษาหาความรู้ทางทฤษฎีมาร์กซ์-เลนิน เมื่อได้เข้าทำงานที่องค์กรคอมมิวนิสต์สากล (Communist International / Comintern) โฮจิมินห์มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนและถกปัญหาต่อประเด็นต่างๆ อยู่ตลอดเวลา
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
11
พฤศจิกายน
2565
ดร.ปรีดี พนมยงค์ ได้พำนักอยู่ในกรุงปักกิ่งประเทศจีนในฐานะเป็น “แขกของรัฐบาล” โดยรัฐบาลจีนออกค่าใช้จ่ายในการดำรงชีวิตให้ทุกประการ บ้านที่พักเป็นบ้านเลขที่ 25 ตรอกเสี่ยวหยางเหมา คนไทยร่วมอาศัยอยู่ด้วยหลายคน คือ ร.อ.วัชรชัย ชัยสิทธิเวช, นายสงวน ตุลารักษ์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปักกิ่ง, ร.ต.ต.สมจิตร สุวรรณวัฒนา, นางนงเยาว์ ประภาสถิตย์, ร.ต.อ.สมศักดิ์ พัวเวช, ส.ต.ต.ชม แสงเงิน และ ร.ต.อ.เฉียบ ชัยสงค์ (อัมพุนันท์) และนับเป็นการลี้ภัยการเมืองครั้งที่ 3 ของท่าน คงจำได้ว่า การลี้ภัยครั้งแรก คือ เมื่อพระยามโนปกรณ์นิติธาดาปิดสภา ครั้งที่สอง เมื่
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to เหมาเจ๋อตง
6
สิงหาคม
2565
ปฏิบัติการภายใต้บัญชาการของหวอเหงียนย้าป สามารถนำโฮจิมินห์และคณะกรรมการศูนย์กลางของพรรคคอมมิวนิสต์เคลื่อนเข้าสู่ฐานที่มั่นได้อย่างปลอดภัย ซึ่งในเวลาต่อมา กองทัพประชาชนได้ยกระดับแนวรบและพัฒนากำลังพลมากขึ้น รวมไปถึงการได้รับความร่วมมือจากประชาชนในท้องถิ่นมากขึ้นเรื่อยๆ