แนบ พหลโยธิน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
21
พฤศจิกายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ ได้เสนอประเด็นสำคัญคือ ปัญหาเศรษฐกิจของสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ผ่านการประวัติศาสตร์ของฝรั่งเศสในยุคพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ที่ไม่ได้มีการวางแผนเศรษฐกิจไว้ล่วงหน้าจนทำให้ราษฎรต้องอดอยากนำไปสู่การล่มสลายในที่สุด และได้เสนอการแก้ไขเศรษฐกิจผ่านเค้าโครงการเศรษฐกิจ (สมุดปกเหลือง) ตามแนวทางของหลัก 6 ประการ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
พฤศจิกายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เสนอให้เห็นข้อบิดเบือนในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ ในเรื่องการก่อตั้งคณะราษฎรเมื่อปี 2469 โดยเฉพาะความคลาดเคลื่อนเรื่องปีที่ก่อตั้งและสถานที่ที่ไม่ตรงกับข้อเท็จจริง
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
28
สิงหาคม
2567
ในวาระ 92 ปีการอภิวัฒน์สยาม ได้มีการสร้างละครเวทีเรื่อง Before 2475 ของคนรุ่นใหม่โดยมีเนื้อหาย้อนกลับไปสู่ก่อนการอภิวัฒน์ตั้งแต่การก่อตั้งคณะราษฎร ช่วง พ.ศ. 2468-2469 ของคณะผู้ก่อการทั้ง 7 คน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
5
เมษายน
2567
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475 โดยเหล่าผู้ก่อการที่รู้จักกันในนาม “คณะราษฎร” ได้เริ่มต้นจากแนวคิดของเหล่านักเรียนนอกที่มีแนวคิดเห็นด้วยกับนายปรีดี พนมยงค์ จึงเกิดการดำเนินการชักชวนผู้ที่สนใจเข้าร่วมขบวนการ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
10
พฤศจิกายน
2566
เรื่องราวอัตชีวประวัติของท่านเมื่อครั้นท่านยังเยาว์วัย บุคลิก นิสัย และวีรกรรมเมื่อสมัยเป็นนักเรียนอังกฤษ ก่อนที่ท่านจะรับการชักชวนเป็นสมาชิกคณะราษฎร ร่วมปฏิบัติภารกิจกู้ชาติในฐานะสมาชิกเสรีไทย และกลายเป็นนายกรัฐมนตรีลำดับที่ 5 แม้จะเป็นเพียง 17 วัน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
23
มิถุนายน
2566
นายปรีดี พนมยงค์ ได้มีข้อเขียนแสดงความเป็นมาของการเปลี่ยนแปลงการปกครองหรือการอภิวัฒน์สยามเมื่อคราว 24 มิถุนายน 2475 ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นหลักฐานที่กล่าวแทนคณะราษฎร
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤษภาคม
2566
ฉากชีวิตนับจากการเนรเทศถึงนิวัติไทยทั้งผลงานสำคัญ และการลี้ภัยครั้งแรกตราบจนวาระสุดท้ายแห่งชีวิตของนายปรีดี พนมยงค์ จนถึงการนิวัติไทยในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
พฤศจิกายน
2565
3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 เป็นวันถึงแก่อสัญกรรมของ ทวี บุณยเกตุ นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 ของไทย บทบาททางการเมืองของทวีมีมากกว่าการเป็นนายกรัฐมนตรีเพียง 17 วันดังที่กล่าวถึงกันอย่างแพร่หลาย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
17
มิถุนายน
2565
ในวาระ 90 ปี การอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ยังมีเรื่องราวของคณะราษฎรในแง่มุมใหม่จากหลักฐานประวัติศาสตร์ ทั้งการตื่นขึ้นทางความคิดของราษฎรสามัญ การผลิตซ้ำแนวคิดของคณะราษฎรในเยาวชนคนหนุ่มสาว หรือ เยาวรุ่นอย่างต่อเนื่อง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to แนบ พหลโยธิน
7
มิถุนายน
2564
การสิ้นสุดลงของ “ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์” ในสยามจึงเป็นไปเพื่อการก่อเกิดใหม่ของ “ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ” หรือ “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข”