แรงงาน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
28
พฤศจิกายน
2567
การปฏิรูประบบสวัสดิการแรงงาน และระบบประกันสังคมการสวัสดิการถ้วนหน้าเป็นส่วนสำคัญที่จะนำไปสู่การระบบสวัสดิการถ้วนหน้าให้สังคมไทย และยังส่งเสริมให้เกิดประชาธิปไตยในมิติเศรษฐกิจบนพื้นฐานของสิทธิมนุษยชนคือ แรงงาน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
26
กรกฎาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ได้ตอบคำถามผ่านจดหมายเกี่ยวกับลัทธิแก้และรีวิสชันนิสม์ แก่พีรพันธุ์ พาลุสุข โดยนายปรีดีได้อธิบายถึงที่มาและความหมาย รวมถึงความคิดเห็นเกี่ยวกับลัทธิแก้ในประเทศไทยท่ามกลางสถานการณ์ทางการเมืองที่ซ้ายมากขึ้น
บทความ • บทบาท-ผลงาน
1
พฤษภาคม
2567
นโยบายแรงงานคณะราษฎรให้ความสำคัญกับสวัสดิการแรงงาน โดยปรีดี พนมยงค์ริเริ่มพระราชบัญญัติจัดตั้งสำนักงานจัดหางาน พ.ศ. 2475 เพื่อคุ้มครองแรงงานและนายจ้าง วางรากฐานกฎหมายแรงงานไทย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
1
พฤษภาคม
2567
โครงสร้างแรงงานไทยเปลี่ยนจากเกษตรกรรมสู่อุตสาหกรรมและบริการ ส่งผลให้จิตสำนึกร่วมของแรงงานเสื่อมถอย แต่มีสหภาพแรงงานรุ่นใหม่เกิดขึ้น สร้างโอกาสเปลี่ยนแปลงเพื่อประโยชน์แรงงานในอนาคต
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
26
ธันวาคม
2566
ธุรกิจแพลตฟอร์มในปัจจุบันนี้ กลายเป็นตัวแปรผันในการประกอบกธุรกิจแบบดั้งเดิม โดยได้เปลี่ยนแปลงเป็นรูปแบบของตลาดหลายด้าน และส่งผลกระทบต่อระบบกฎหมายแรงงาน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤศจิกายน
2566
นำเสนอถึงปัญหาเศรษฐกิจไทยภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 จากบทสัมภาษณ์ศาสตราภิชาน แล ได้กล่าวไว้ 3 เรื่องสำคัญ พร้อมกับผูกประเด็นเหล่านั้นกับแนวคิดและข้อเสนอของ ผศ.ดร. ธร ปิติดล จากงานวิจัยชื่อ “แนวคิดและอุดมการณ์กับพัฒนาการระบบสวัสดิการไทย”
บทความ • บทสัมภาษณ์
6
พฤศจิกายน
2566
ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์แรงงาน ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงประเด็นด้านแรงงานนับตั้งแต่รากฐานทางเศรษฐกิจภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 จนถึงประเด็นด้านขบวนการแรงงานรวมถึงหลักประกันทางกฎหมายของแรงงานไทยที่ผกผันไปตามพลวัตของประวัติศาสตร์เศรษฐศาสตร์การเมืองไทย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
17
ตุลาคม
2566
พลวัตของฝ่ายเผด็จการว่ามีลักษณะและการแปรเปลี่ยนรูปแบบไปของเผด็จการอย่างไร ในช่วงอภิวัฒน์ฝรั่งเศสของกษัตริย์หรือชนชั้นเจ้าศักดินา และการเกิดขึ้นมาใหม่ของชนชั้นเจ้าสมบัติหรือนายทุนสมัยใหม่ที่เติบโตไปพร้อมกับโครงสร้างทุนนิยมที่ขยายใหญ่ขึ้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
1
พฤษภาคม
2566
ความเป็นมาของวันแรงงานสากล กับความพยายามในการขับเคลื่อนเพื่อลดชั่วโมงการทำงานของผู้ใช้แรงงานทั่วโลก พร้อมคำถามและข้อฉงนระหว่างทางแห่งประวัติศาสตร์ของการเคลื่อนไหวว่า เป้าหมายคืออะไร การบรรลุเป้าหมายมีเพียงใด ผ่านวิธีการเช่นไร ระหว่างวิถีอันสันติกับความรุนแรง และให้บทเรียนอะไรบ้าง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to แรงงาน
20
กันยายน
2565
ประเด็นสิทธิแรงงานผ่านมิติเวลาการทำงานที่ถูกขูดรีด โดยพิจารณาการเปลี่ยนผ่านทางสังคมที่เข้าสู่ระบบทุนนิยมภายหลังปฏิวัติอุตสาหกรรม ซึ่งต่อมาได้มาปรากฏความเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องสิทธิเวลาการทำงานที่เป็นธรรมของแรงงานในระบบ