ไทเรล ฮาเบอร์คอร์น
บทความ
19
มกราคม
2566
ช่วงตอบคำถามของงานเสวนา PRIDI Talks #19: 111 ปี ชาตกาล ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ "สิทธิมนุษยชนกับความเท่าเทียมทางเพศในรัฐธรรมนูญไทย" โดยเปิดให้วิทยากรได้ร่วมแสดงความคิดเห็นพร้อมเสนอทางออกกับโจทย์ใหญ่ในประเด็น "ทำอย่างไรให้เกิดร่างรัฐธรรมนูญที่รับรองสิทธิเท่าเทียมทางเพศ" พร้อมทั้งคำถามจากผู้ชมทั้งช่องทางออนไลน์และในห้องประชุม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
14
มกราคม
2566
ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล กล่าวถึงหนทางสู่ความเท่าเทียมทางเพศ ผ่านข้อเสนอเพื่อนำไปสู่จุดหมายและทลายปัญหาทางเพศที่เกิดขึ้นในสังคมไทย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
มกราคม
2566
ศ.ดร.ไทเรล ฮาเบอร์คอร์น กล่าวถึงช่องว่างทางกฎหมายที่สังคมไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน ตลอดจนบทบาทของอาจารย์ในสถานศึกษาซึ่งต้องช่วยสร้างพื้นที่ปลอดภัยแก่นักศึกษา นอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นถึงพัฒนาการด้านสิทธิของผู้มีความหลากหลายทางเพศ ผ่านกรณี ไต้หวัน และสหรัฐอเมริกา รวมไปถึงทิศทางของการต่อสู้ของกลุ่ม LGBTQIA+ ของไทยในอนาคต
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
มกราคม
2566
ชานันท์ ยอดหงษ์ กล่าวถึงบทบาทของรัฐในการรับรองสิทธิของกลุ่มคนผู้มีความหลากหลายทางเพศซึ่งยังปรากฏมุมมองความเหลื่อมล้ำทางเพศและการเลือกปฏิบัติ ตลอดจนบทบาทในฐานะผู้ผลักดันและมีส่วนร่วมของการทำงานด้านการเมืองเชิงอัตลักษณ์ให้แก่พรรคการเมือง รวมไปถึงบอกเล่าความเหลื่อนไหวของสตรีผ่านแง่มุมประวัติศาสตร์ในช่วงเวลาการอภิวัฒน์ 2475
ข่าวสาร
10
มกราคม
2566
สรุปประเด็นเสวนา PRIDI Talks #19: 111 ปี ชาตกาล ท่านผู้หญิง พูนศุข พนมยงค์ “สิทธิมนุษยชนกับความเท่าเทียมทางเพศในรัฐธรรมนูญไทย” วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2566 ณ สมาคมธรรมศาสตร์ฯ ซอยงามดูพลี
ข่าวสาร
9
มกราคม
2566
ข่าวการจัดงานเสวนา PRIDI Talks #19: 111 ปี ชาตกาล ท่านผู้หญิง พูนศุข พนมยงค์ “สิทธิมนุษยชนกับความเท่าเทียมทางเพศในรัฐธรรมนูญไทย” ขึ้น ณ สมาคมธรรมศาสตร์ฯ ซอยงามดูพลี เมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2566
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
7
มกราคม
2566
ไทเรล ฮาเบอร์คอร์น บอกเล่าปัญหาในความไม่สนใจและการไม่เปิดพื้นที่ต่อบทบาทของสตรีในการสร้างหรือต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย โดยเริ่มต้นจากจุดหันเหทางการเมืองไทยเมื่อคราวอภิวัฒน์สยาม อีกทั้งบอกเล่าชุดเรื่องราวกระแสรองเพื่อเปิดพื้นที่ทางประวัติศาสตร์ของสตรีอย่างเท่าเทียม ผ่านชีวิตและการต่อสู้ของ "ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์"
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
4
มกราคม
2566
โครงสร้างของระบอบชายเป็นใหญ่ (Patriarchy) ซึ่งเป็นฐานคิดหนึ่งที่ถูกปะทะจากการเข้าสู่ระบอบใหม่ จนเกิดบรรทัดฐานใหม่ทางเพศในสังคมและการเคลื่อนไหวของสตรีภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ตลอดจนนำไปสู่การรื้อสร้างและต่อสู้ทางวัฒนธรรมที่ยังคงดำเนินต่อไป
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
17
ตุลาคม
2565
ไม่มีประเทศใดบนโลกใบนี้ จะอนุญาตให้มีการปล่อยให้อาชญากรรมโดยรัฐ ลอยนวลพ้นผิดได้อย่างเปิดเผย โฉ่งฉ่าง เฉกเช่นที่เกิดขึ้นกับประเทศไทย เราคงไม่ต้องกล่าวซ้ำว่า เกิดอาชญากรรมโดยรัฐมากน้อยเพียงใด
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
Subscribe to ไทเรล ฮาเบอร์คอร์น
13
ตุลาคม
2565
การต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยต้องทำอย่างไรเพื่อส่งต่ออุดมการณ์ให้คนรุ่นใหม่ปฏิบัติการได้สำเร็จ คือ โจทย์ที่เป็นหัวใจสำคัญของการเคลื่อนไหวในแต่ละก้าวของคนรุ่นต่อรุ่นและ ศิลปะ ยังคงทำหน้าที่เป็นส่วนประสานผ่านหลายแขนงอย่างเข้มแข็งตลอดมา