ไสว สุทธิพิทักษ์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มิถุนายน
2566
ความอยุติธรรมในกรณีสวรรคต รัชกาลที่ 8 คดีดังกล่าวมิเพียงแต่สั่นสะเทือนต่อความรู้สึกของปวงชนชาวไทยในช่วงเวลานั้น แต่ยังนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ทางการเมืองไทย ช่วงทศวรรษ 2490
บทความ • บทบาท-ผลงาน
9
พฤษภาคม
2566
ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์ บันทึกเรื่องราวบอกเล่ารัฐพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญ ฉบับปี พ.ศ. 2489 พร้อมทั้งรายละเอียดบทบัญญัติสำคัญของรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว ซึ่งถือเป็นรัฐธรรมนูญที่มีความเป็นประชาธิปไตยมากที่สุดฉบับหนึ่ง นับตั้งแต่ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤษภาคม
2566
ฉากชีวิตนับจากการเนรเทศถึงนิวัติไทยทั้งผลงานสำคัญ และการลี้ภัยครั้งแรกตราบจนวาระสุดท้ายแห่งชีวิตของนายปรีดี พนมยงค์ จนถึงการนิวัติไทยในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
12
เมษายน
2566
เรื่องราวการถูกเนรเทศไปยังแดนไกลของนายปรีดีและความเป็นไปทางการเมืองในขณะนั้น โดยกล่าวถึงสาเหตุที่ทำให้ชีวิตของมันสมองคณะราษฎรผู้นี้ต้องระหกระเหิน พร้อมทั้งบรรยากาศในสังคมสยามเมื่อคราวที่นายปรีดีจะต้องออกเดินทางนั้นมาถึง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2566
ชวนอ่านกลวิธีที่นำไปสู่การรัฐประหารครั้งแรกของไทย โดย 'พระยามโนปกรณ์นิติธาดา' โดยอาศัยช่องว่างในขณะที่ "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" ข้อเสนอโดย 'นายปรีดี พนมยงค์' ซึ่งอยู่ในขั้นตอนการทบทวนพิจารณาเชิงหลักการและฐานความคิดต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรี
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
มีนาคม
2566
การเมืองของการผลิตซ้ำและการต่อสู้บนพื้นที่ทางความทรงจำ ผ่านการวิเคราะห์การเกิดขึ้นใหม่ของ "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" และ "พระบรมราชวินิจฉัยฯ" ในหลายรูปแบบ พร้อมทั้งสะกดรอยวิวาทะแห่งการพิมพ์และสัญญะทางความคิด ซึ่งพบร่องรอยการโต้ตอบเพื่อสถาปนาการรับรู้ นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 เป็นต้นมา
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ บอกเล่าเรื่องภายหลังจาก "ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" ต้องประสบกับความล้มเหลว รวมไปถึงท่าทีของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งได้แสดงทรรศนะต่อนายปรีดี พนมยงค์ และสถานการณ์ทางการเมืองในขณะนั้น
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
11
พฤศจิกายน
2565
ดร.ปรีดี พนมยงค์ ได้พำนักอยู่ในกรุงปักกิ่งประเทศจีนในฐานะเป็น “แขกของรัฐบาล” โดยรัฐบาลจีนออกค่าใช้จ่ายในการดำรงชีวิตให้ทุกประการ บ้านที่พักเป็นบ้านเลขที่ 25 ตรอกเสี่ยวหยางเหมา คนไทยร่วมอาศัยอยู่ด้วยหลายคน คือ ร.อ.วัชรชัย ชัยสิทธิเวช, นายสงวน ตุลารักษ์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปักกิ่ง, ร.ต.ต.สมจิตร สุวรรณวัฒนา, นางนงเยาว์ ประภาสถิตย์, ร.ต.อ.สมศักดิ์ พัวเวช, ส.ต.ต.ชม แสงเงิน และ ร.ต.อ.เฉียบ ชัยสงค์ (อัมพุนันท์) และนับเป็นการลี้ภัยการเมืองครั้งที่ 3 ของท่าน คงจำได้ว่า การลี้ภัยครั้งแรก คือ เมื่อพระยามโนปกรณ์นิติธาดาปิดสภา ครั้งที่สอง เมื่
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤศจิกายน
2565
ความจริงเรื่องรัฐประหารล้มรัฐบาลนี้ เกิดเป็นรูปเป็นร่างหลังจากพรรคประชาธิปัตย์เปิดอภิปรายทั่วไป ไม่ไว้วางใจรัฐบาลธำรงนาวาสวัสดิ์มาตั้งแต่ปลายพฤษภาคม 2490
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
Subscribe to ไสว สุทธิพิทักษ์
22
กันยายน
2565
เมื่อสงครามสิ้นสุดแล้ว คุณไสวได้สมัครเป็นผู้แทนราษฎร และได้รับเลือกตั้งเป็นผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นบ้านเกิด ต่อมาได้รับแต่งตั้งให้เป็นเลขานุการนายกรัฐมนตรี