ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

14 ตุลา 2516

15
ตุลาคม
2565
บทเรียนจากเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 การเปลี่ยนแปลงเพียงตัวบุคคลของระบอบการปกครองอันกดขี่ไม่สามารถทำให้ประเทศไทยก้าวสู่ประชาธิปไตยได้อย่างแท้จริง การเปลี่ยนแปลงที่จะทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนส่วนใหญ่ และประเทศเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริงต้องทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับโครงสร้างที่ทำให้อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน 
แนวคิด-ปรัชญา
10
ตุลาคม
2565
เดือนตุลาคมของไทยทุกปี มักถูกจดจำทั้งในฐานะเดือนแห่งชัยชนะของประชาธิปไตย โดยมีเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 อันเป็นการขับไล่ระบอบเผด็จการทหารเป็นจุดอ้างอิง ขณะเดียวกันก็มักเป็นเดือนแห่งความทรงจำว่าด้วยการก่ออาชญากรรมโดยรัฐ โดยมีเหตุการณ์สังหารหมู่นักศึกษาและประชาชน ในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 เป็นสิ่งที่ให้หวนระลึกถึง 
บทบาท-ผลงาน
21
ตุลาคม
2564
ปรีดี พนมยงค์ สมาชิกคณะราษฎร เป็นผู้หนึ่งที่มองเห็นปัญหานี้ เขาใช้เวลาเพียง 1 ปี หลังการเปลี่ยนแปลง เริ่มต้นความพยายามแรกด้วยการเสนอให้มีการปฏิรูปที่ดิน
แนวคิด-ปรัชญา
14
ตุลาคม
2564
สังคมของคนรุ่นใหม่นั้น ได้สนใจอดีต สนใจบาดแผล สนใจสาเหตุในอดีต เขาก็นำเอาข้อเท็จจริงเหล่านี้ออกมาขับเคลื่อน ผลักดันเพื่อให้เกิดการรับรู้ ยอมรับ เพื่อจะไม่ให้เกิดขึ้นอีก
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กันยายน
2564
ย้อนกลับไปในช่วงก่อน 6 ตุลาคม 2519 นอกเหนือไปจากขบวนการนิสิต-นักศึกษาแล้ว กลุ่มบุคคลอีกกลุ่มหนึ่งที่มีความสำคัญก็คือ “กลุ่มผู้ใช้แรงงาน” ในนามของ สภาแรงงานแห่งประเทศไทย
แนวคิด-ปรัชญา
17
ตุลาคม
2563
หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ที่มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ นายปรีดี พนมยงค์ ได้ให้ข้อสังเกตที่น่าสนใจหลายประการในการจัดทำรัฐธรรมนูญ พร้อมทั้งเกร็ดประวัติศาสตร์
แนวคิด-ปรัชญา
15
ตุลาคม
2563
ในปี 2516 ภายหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคมแล้ว นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความเพื่อถอดบทเรียนจากความผิดพลาดและล้มเหลวของคณะราษฎร และบางเรื่องในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่ตนเกี่ยวข้อง
บทบาท-ผลงาน
14
ตุลาคม
2563
หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 นายปรีดี พนมยงค์ เขียนบทความที่พิจารณาถึงเจตนารมณ์ของวีรชน 14 ตุลาฯ พร้อมทั้งการตั้งข้อสังเกตเบื้องต้นถึงการพิทักษ์เจตนารมณ์ของเหล่าวีรชนไว้
แนวคิด-ปรัชญา
13
ตุลาคม
2563
เมื่อ 20 ปีก่อน ในช่วง 100 ปีชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ (พ.ศ. 2543) ศาสตราจารย์ ดร.เกษียร เตชะพีระ อ่านบทความ "จงพิทักษ์เจตนารมณ์ประชาธิปไตยสมบูรณ์ของวีรชน 14 ตุลาคม" ของปรีดี พนมยงค์ แล้วตั้งข้อสังเกตที่น่าสนใจไว้หลายประการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
ตุลาคม
2563
นายปรีดี พนมยงค์ อธิบายความเป็นมา ความหมายของประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ รวมไปถึงองค์ประกอบทางสังคมของมนุษย์ซึ่งสัมพันธ์ต่อการก่อร่างระบอบประชาธิปไตย นอกจากนี้นายปรีดียังได้ขยายความการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน อีกทั้งพิจารณาความสำคัญของหลักการการปกครองของระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา
Subscribe to 14 ตุลา 2516