ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

iLaw

แนวคิด-ปรัชญา
22
ธันวาคม
2565
ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ กล่าวถึงเส้นทางการเคลื่อนไหวในการร่างรัฐธรรมนูญอันเกิดจากการผลักดันของภาคประชาชนและพรรคการเมืองต่างๆ ซึ่งได้เริ่มต้นนับตั้งแต่ปี 2563 จนถึงกระทั่งปัจจุบัน โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญคือการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับ 2560 นอกจากนี้ ยังได้ชี้ให้เห็นถึงจุดขวางกั้นที่ทำให้ทั้งพรรคการเมืองและภาคประชาชนต้องพบกับอุปสรรคใหญ่ในหนทางการแก้ไขรัฐธรรมนูญ อันเกิดจากเงื่อนไขบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญฉบับ 2560 ที่กำหนดไว้
แนวคิด-ปรัชญา
18
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน กล่าวถึงความไม่เป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ ซึ่งเกิดขึ้นนับตั้งแต่จุดเริ่มต้นของกระบวนการยุติธรรมไทยในอดีต เปรียบเสมือนติดกระดุมผิดเม็ด จนกรุยทางไปสู่ความป่วยไข้ของรัฐธรรมนูญที่ส่งผลต่อทัศนคติในหมู่นักกฎหมายและประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
17
ธันวาคม
2565
ความสำคัญของรัฐธรรมนูญโดยเชื่อมโยงกับสังคมไทยและการต่อสู้ทางการเมืองในโมงยามปัจจุบัน พร้อมทั้งวิพากษ์คำว่า "Constitution" "Constitutional" และ "Constitutionalism" ผ่านแว่นตาของรัฐศาสตร์ คำดังกล่าวต่างเต็มไปด้วยนัยทางการเมืองที่แตกต่างกันและส่งผลต่อฐานคิดว่าด้วย "รัฐธรรมนูญ"
แนวคิด-ปรัชญา
11
ธันวาคม
2565
พิจารณาแกนหลักสำคัญผ่านรัฐธรรมนูญ คือการวางหลักประกันให้แก่สิทธิและเสรีภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน อีกทั้งนำเสนอหลักคิดและอุดมคติของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ซึ่งแสดงทัศนะไว้ต่อประเด็นรัฐธรรมนูญที่มีลักษณะเชิงจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้ถดถอยลง เพื่อถอดบทเรียนไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
9
มีนาคม
2565
สิ่งหนึ่งที่น่าสนใจและในบทความนี้ที่ 'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ'ได้หยิบยกมา คือ สังคมปัจจุบันนี้ไม่ได้ก้าวพ้นในสิ่งที่อาจารย์ป๋วยได้เคยพูดเสมือนถูกแช่แข็งเอาไว้ และในแง่นี้คำพูดของอาจารย์ป๋วยจึงยังคงอยู่กับสังคมมากกว่าปณิธานของอาจารย์ที่ได้แสดงไว้
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ธันวาคม
2564
รัฐธรรมนูญหลายประเทศ มักใช้พื้นที่ของ “คำปรารภ” อันเป็นข้อความที่ปรากฏเป็นส่วนแรกของรัฐธรรมนูญ ในการบอกเล่าถึงอุดมการณ์ร่วมกันของชาติ อุดมการณ์ของประชาชน เช่น รัฐธรรมนูญฝรั่งเศส ที่ระบุถึงหลักเสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ อันเป็นหลักการสำคัญของฝรั่งเศส ขณะที่คำปรารภของรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา กล่าวถึงการสถาปนารัฐธรรมนูญโดยประชาชน ด้านคำปรารภของ รัฐธรรมนูญเกาหลีใต้ บอกเล่าถึงความภาคภูมิใจของชาวเกาหลีในประวัติศาสตร์ของชาติ อิสรภาพจากการปกครองญี่ปุ่น ภารกิจในการปฏิรูปประชาธิปไตย และมีความมุ่งมั่นที่จะรวมชาติให้เป็นหนึ่งเดียว เสริมสร้
แนวคิด-ปรัชญา
22
มีนาคม
2564
ตลอดชีวิตของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ได้ทำมาตลอดชีวิตของท่าน คือการสร้างประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ให้กับชาติ “ประชาธิปไตยสมบูรณ์” นั้น หมายถึง ทั้งเรื่องของการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
20
มีนาคม
2564
การสร้าง “ประชาธิปไตยสมบูรณ์” ตามแนวคิดของอาจารย์ปรีดี จึงจำเป็นต้องมีการออกแบบโครงสร้างและสถาบันทางการเมืองที่สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย โดยมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศทั้งในทางนิตินัยและพฤตินัย และคุณค่าของรัฐธรรมนูญนั้นจะต้องมุ่งสถาปนาความเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
19
มีนาคม
2564
สมัยที่ท่านอาจารย์ปรีดีย้ายจากเมืองจีนไปฝรั่งเศสนั้น ท่านก็ได้รับการต้อนรับจากนักเรียนไทยหลายคนทีเดียว และนักเรียนไทยที่อยู่ในอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือเยอรมันก็ตาม ต่างก็ได้ตั้งคำถามกับท่านว่า “ไทยเรามีโอกาส มีทางที่จะได้ประชาธิปไตยโดยสันติวิธีหรือไม่ ?”
แนวคิด-ปรัชญา
18
มีนาคม
2564
รัฐธรรมนูญเพื่อประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ | PRIDI TALKS 9 | อนุสรณ์ ธรรมใจ
Subscribe to iLaw